Page 26 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 26
14-16 วัฒนธรรมกบั การท่องเทย่ี ว
อติ าลใี น ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) เปน็ การประชมุ ทจ่ี ดั ขน้ึ เพอ่ื สง่ เสรมิ การคมุ้ ครอง การจดั การ และวางแผน
ภูมิทัศน์ของยุโรป เพื่อจัดระเบียบความร่วมมือในประเด็นเกี่ยวกับภูมิทัศน์ในยุโรป (สนธิสัญญาดังกล่าว
เป็นสนธิสัญญาฉบับแรกท่ีเกี่ยวข้องกับการคุ้มครอง จัดการ และปรับปรุงภูมิทัศน์ของยุโรปโดยเฉพาะ)
(Czepczyń ski, Mariusz, 2008, p. 12-14)
ในบรบิ ทของประเทศไทยนน้ั จะเหน็ ไดว้ า่ ภมู ทิ ศั นจ์ ะเหน็ ไดว้ า่ ภมู ทิ ศั นท์ ง้ั ทางธรรมชาติ และทาง
วัฒนธรรมมบี ทบาทท่สี �ำคญั อย่างมากในการเป็นทรพั ยากรการท่องเทย่ี ว ในทน่ี ้ผี เู้ ขียนขอยกตวั อยา่ งการ
ใชง้ านภมู ทิ ศั นท์ างธรรมชาติ จะเหน็ ไดว้ า่ เมอ่ื เปดิ พนื้ ทที่ างธรรมชาตใิ หเ้ ปน็ สถานทที่ อ่ งเทย่ี วแลว้ สงิ่ ทเ่ี กดิ
ข้ึนตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้คือ ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นด้วยเร่ืองของ
ปริมาณขยะ ไปจนถึงการตัดไม้ท�ำลายป่าเพื่อท�ำเป็นรีสอร์ท หรือโรงแรมเพื่อให้บริการแก่นักท่องเท่ียว
ด้วยเหตุนี้เองจึงมีการสร้างกลไกต่างๆ ขึ้นมาเพ่ือควบคุมการใช้งานด้วยแนวคิดการอนุรักษ์ ยกตัวอย่าง
เช่น ในกรณีของอุทยานแหง่ ชาติภกู ระดึง จงั หวัดเลย จะมชี ว่ งเวลาในการปิดอทุ ยานฯ เพื่อทำ� การฟื้นฟู
ธรรมชาตใิ นชว่ งฤดฝู น ทง้ั ยงั เปน็ ไปเพอ่ื ความปลอดภยั ของนกั ทอ่ งเทย่ี วดว้ ย และจะเหน็ ไดว้ า่ การประกาศ
เขตพนื้ อนรุ กั ษ์ ปา่ สงวน อทุ ยานแหง่ ชาติ กเ็ ปน็ การออกกฎเกณฑเ์ พอ่ื ควบคมุ การใชง้ าน รวมถงึ กจิ กรรม
ต่างๆ ที่จะเกดิ ข้นึ ในพ้ืนทน่ี ้ันด้วยเชน่ เดยี วกนั
3. ภูมิทัศน์ในเชิงของความหมายและการส่ือสาร การพิจารณาในประเด็นที่เก่ียวข้องกับองค์
ประกอบของภมู ทิ ศั นน์ น้ั สงิ่ ทเี่ ราไมส่ ามารถละลายไปไดค้ อื สงิ่ ทอ่ี ยเู่ บอื้ งหลงั โดยใหค้ วามสำ� คญั ไปพรอ้ มๆ
กับสิ่งทีอ่ ยู่เบอื้ งหน้า ซ่งึ เป็นสิง่ ทีเ่ ราสามารถมองเหน็ ได้ด้วยตา กล่าวคือ ภมู ิทัศนต์ ่างๆ ทีเ่ รามองเห็น ไม่
วา่ จะเปน็ การดำ� เนนิ วถิ ชี วี ติ ของผคู้ น ทวิ ทศั นข์ องเมอื งหรอื ชนบท ฯลฯ ลว้ นแลว้ แตแ่ ฝงไปดว้ ยความหมาย
ในแงม่ มุ ตา่ งๆ ทสี่ อ่ื สารออกมาใหผ้ คู้ นไดร้ บั ทราบ เชน่ การรบั รไู้ ดถ้ งึ ประวตั ศิ าสตรค์ วามเปน็ มาอนั รงุ่ โรจน์
หรือแม้แต่กระท่ังโศกนาฏกรรม ซ่ึงสะท้อนให้เห็นว่าภูมิทัศน์นั้นสามารถเป็นตัวแทนหรือสัญลักษณ์ของ
บางสิ่งบางอย่างได้ ดังกล่าวนี้มีความสัมพันธ์กับการด�ำเนินกิจกรรมของมนุษย์ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด
เกี่ยวกบั ภูมิทัศน์วฒั นธรรมทีจ่ ะกลา่ วถงึ ตอ่ ไปข้างหน้า ควรกล่าวด้วยว่า ในบริบทนี้ภมู ิทศั น์ได้กลายเป็น
เคร่ืองส่งสัญญาณราวกับว่ามีคุณค่าและความหมายในตัวเอง ซึ่งความหมายท่ีภูมิทัศน์สื่อสารออกมานั้น
มีหลายรูปแบบด้วยกัน ตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือ อนุสรณ์การสังหารชาวยิวในยุโรป (Memorial
to the Murdered Jews of Europe ) ซงึ่ ตงั้ อยทู่ ก่ี รงุ เบอรล์ นิ ประเทศเยอรมนี ดงั กลา่ วนส้ี ามารถตคี วาม
ได้ว่าเป็นสถานที่ใช้ในการฝังศพของชาวยิว หรืออาจจะตีความได้ว่าเป็นความว่างเปล่า หรือเมืองที่มีแต่
คอนกรีต ดังกล่าวน้ีก็เป็นสิ่งท่ีผู้มาเยือนได้เห็นและรับรู้ความหมาย ซึ่งก็ข้ึนอยู่กับแต่ละบุคคล ในขณะท่ี
สารทศ่ี ลิ ปนิ ตอ้ งการจะสอ่ื นน้ั ยงั คงไมม่ คี วามชดั เจน ในปจั จบุ นั สถานทแ่ี หง่ นเ้ี ปน็ ทด่ี งึ ดดู นกั ทอ่ งเทย่ี วเปน็
อย่างมาก (Czepczyń ski, Mariusz, 2008, pp. 14-16)