Page 30 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 30

14-20 วัฒนธรรมกบั การทอ่ งเทย่ี ว
ฟลิ ิปปินส์ และวดั พู (Vat Phou) ศาสนสถานทมี่ คี วามเกยี่ วเน่ืองกับศาสนาพราหมณ์ รวมถึงพ้ืนท่ีเก่ยี ว
เนื่องทีแ่ สดงถึงการตั้งถิน่ ฐานในยคุ โบราณ ประเทศลาว3

       ถึงแม้วา่ ในประเทศไทยยังไม่มพี ้ืนท่ซี ่งึ เข้าขา่ ยของการเป็นมรดกโลกทอี่ ยูใ่ นรูปแบบของภมู ิทศั น์
วัฒนธรรม หากแต่ก็พบว่าในช่วงท่ีผ่านมาแนวคิดเกี่ยวกับภูมิทัศน์วัฒนธรรมก็เป็นแนวคิดที่น�ำมาใช้ใน
สังคมไทยอย่างแพร่หลาย เห็นได้จากงานวิจัย งานวิชาการต่างๆ โดยเฉพาะในแวดวงทางด้าน
สถาปตั ยกรรมทน่ี ำ� เอาแนวคดิ นไ้ี ปใชใ้ นการจดั การพน้ื ท่ี การวางแผนการพฒั นาเมอื ง ตลอดจนการอนรุ กั ษ์
ในประเดน็ นก้ี ม็ คี วามสมั พนั ธก์ บั บรบิ ทของการจดั การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งแยกไมอ่ อก ในสว่ นนผ้ี เู้ ขยี นจะกลา่ ว
ถึงรายละเอียดในสว่ นต่อๆ ไป อีก แต่ก่อนทจ่ี ะอธบิ ายสว่ นอน่ื ๆ ในสว่ นนจี้ ะให้ผอู้ า่ นมาท�ำความรู้จกั กับ
ภมู ทิ ศั น์วัฒนธรรม เกีย่ วกับคำ� อธบิ าย และทม่ี าทีไ่ ปเสยี กอ่ น

       จากที่กล่าวมาแล้วในหัวข้อก่อนหน้าน้ีเก่ียวกับการศึกษาภูมิทัศน์ของคาร์ล ออร์ตวิน ซอเออร์
(Carl Ortwin Sauer) ที่ให้ความส�ำคัญกบั มติ ิทางดา้ นวัฒนธรรมในการศึกษาพน้ื ทเ่ี ชิงกายภาพ ในท่ีนี้
ซอเออร์ (Sauer) กไ็ ดใ้ หค้ ำ� อธบิ ายเกยี่ วกบั ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรมไวว้ า่ เปน็ รปู แบบของภมู ทิ ศั นท์ างธรรมชาติ
ที่เกิดโดยกลุ่มทางวัฒนธรรม ในที่นี้คือ วัฒนธรรมคือผู้กระท�ำ  (Culture Is The Agent) พื้นที่ทาง
ธรรมชาติอยู่กึ่งกลาง (Natural Area Is The Medium) และผลลพั ธท์ ่ีได้ก็คอื ภูมิทัศน์วฒั นธรรม (The
Cultural Landscape Is The Result) ซ่ึงจากการแยกกันระหว่างภูมิทัศน์วัฒนธรรมกับภูมิทัศน์ทาง
ธรรมชาตนิ ้ี จากคำ� อธบิ ายดงั กลา่ วกไ็ ดก้ ลายเปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ปกปอ้ ง รกั ษาภมู ทิ ศั นต์ าม
แบบของยโุ รป (Akagawa, Natsuko and Sirisrisak, Tiamsoon, 2008, p. 179) จากแนวคิดดังกลา่ ว
น้ีส่งผลท�ำให้การด�ำเนินกิจกรรมที่เป็นไปเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ บ่อยคร้ังที่ไม่ได้ถูกผูกโยงเข้ากับการ
อนุรักษแ์ ละการพัฒนาภูมทิ ัศนว์ ฒั นธรรม

       ในบริบทของสหรัฐอเมริกา การนิยามภูมิทัศน์วัฒนธรรมโดย หน่วยงานอุทยานแห่งชาติ The
National Park Service (NPS) โดยให้ค�ำนิยามว่า ภูมิทัศน์วัฒนธรรมน้ันคือ พื้นท่ีเปิด รูปแบบทาง
ธรรมชาติหรือสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมา มีความส�ำคัญขั้นพื้นฐานต่อสภาพแวดล้อมน้ันๆ ท้ังยังมีความสัมพันธ์
ทางประวตั ศิ าสตรก์ บั ทรพั ยากรทางวฒั นธรรมทงั้ ทส่ี ามารถจบั ตอ้ งได้ (Tangible) และไมส่ ามารถจบั ตอ้ ง
ได้ (Intangible) ดังกล่าวนี้ได้กลายเป็นแนวทางส�ำคัญท่ีน�ำไปสู่การจัดการทรัพยากรที่เป็นมรดก
(Akagawa, Natsuko and Sirisrisak, Tiamsoon, 2008, p. 180) การนยิ ามนี้แสดงให้เหน็ วา่ ภูมทิ ศั น์
วัฒนธรรมเป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ รวมถึงพ้ืนทรัพยากรทางธรรมชาติและทรัพยากรทางวัฒนธรรม ส่ิงมี
ชีวิตในป่าไปจนถึงสัตว์ป่าท่ีอยู่ภายใน มีความเกี่ยวโยงกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ กิจกรรม บุคคล
หรือแม้แต่กระทง่ั การแสดงออกทางวัฒนธรรม ไปจนถงึ การให้คุณคา่ ในเชงิ สนุ ทรยี ภาพด้วย (Akagawa,
Natsuko and Sirisrisak, Tiamsoon, 2008, p. 180)

       ในหนังสือเรื่องแนวทางการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมท่ีจัดท�ำข้ึนโดยส�ำนักงานคณะกรรมการ
วัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (2549,

         3 ดรู ายละเอียดเพ่ิมเติมใน https://whc.unesco.org
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35