Page 34 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 34

14-24 วฒั นธรรมกับการทอ่ งเทยี่ ว
บรหิ ารจดั การไปจนถงึ ในกลมุ่ ของนกั วชิ าการทม่ี คี วามเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นอยา่ งในกรณขี องนกั ภมู ศิ าสตร์
ขณะที่คนซึ่งมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับแนวคิดน้ีไม่ได้มีบทบาทในการให้ความหมายเก่ียวกับภูมิทัศน์ท่ี
เปน็ ไปตามบรบิ ทและมมุ มองของคนเหลา่ นนั้ เอง แมว้ า่ ภมู ทิ ศั ทเ่ี กย่ี วเนอ่ื งกบั ความเปน็ ชาตพิ นั ธ์ุ (Ethno-
graphic Landscape) จะเปน็ หนง่ึ ในประเภทของการแบง่ ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรมตามแนวทางของสำ� นกั อทุ ยาน
แหง่ ชาติ สหรฐั อเมรกิ า แต่ในทีน่ ้โี ครงการชาตพิ ันธุ์วรรณนาเชงิ ประยุกต์ The Applied Ethnography
Program ของ The Ethnographic Resources Inventory (ERI) ที่ท�ำงานสนับสนุนส�ำนักอุทยาน
แหง่ ชาติ สหรฐั อเมรกิ า ไดใ้ หค้ ำ� นยิ ามเฉพาะของภมู ทิ ศั วฒั นธรรมทเ่ี กยี่ วเนอ่ื งกบั ความเปน็ ชาตพิ นั ธไ์ุ วว้ า่
เปน็ พน้ื ทซี่ งึ่ มคี วามสมั พนั ธส์ บื เนอ่ื งกบั กลมุ่ ทางวฒั นธรรม ซง่ึ ผคู้ นเหลา่ นนั้ ไดน้ ยิ ามวา่ มคี วามสำ� คญั เพราะ
มีความเช่ือมโยงในทางประวัติศาสตร์กับท้องถิ่น อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ความคิดความเช่ือ ไปจนถึง
พฤตกิ รรม ซ่งึ ในบริบทร่วมสมัยน้นั ปจั จัยทางดา้ นสงั คม เชน่ ชัน้ ชน ชาติพันธุ์ เพศสภาพ อาจท�ำให้เกดิ
การให้ความหมายกับพื้นที่ และองค์ประกอบของพื้นที่ซึ่งแตกต่างกันออกไป (Evans, Michael J.,
Roberts, Alexa, and Nelson, Peggy, (online), pp. 53-54)

       ดงั กลา่ วนท้ี ำ� ใหแ้ นวคดิ ภมู ทิ ศั นท์ เ่ี กย่ี วเนอื่ งกบั ความเปน็ ชาตพิ นั ธเ์ุ ปน็ แนวคดิ หนงึ่ ทใ่ี หค้ วามสำ� คญั
กบั บทบาทของสมาชกิ ในสงั คมในการใหค้ วามหมายกับภมู ทิ ัศน์ นอกจากนีแ้ ล้วแนวคิดนี้ยังมคี วามสำ� คญั
ในแง่ท่ีว่าเป็นสิ่งท่ีมาจากบทบาทของคนในสังคมเอง (Evans, Michael J., Roberts, Alexa, and
Nelson, Peggy, (online), pp. 53-54) เมื่อย้อนกลับไปพิจารณาเก่ียวกับเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณา
มรดกโลกทีเ่ ป็นภูมิทัศนว์ ฒั นธรรมท่ีกลา่ วถงึ ในข้างตน้ แล้ว กม็ องได้วา่ หากคนในพืน้ ทน่ี น้ั ๆ มีบทบาทใน
การนิยามและใหค้ ุณค่ากับภูมิทัศน์ท่ีสัมพันธ์กับการด�ำเนินวิถีชีวิตของตนเองก็อาจจะชว่ ยใหก้ ารประยกุ ต์
ใช้แนวคิดเก่ียวกับภูมิทัศน์วัฒนธรรมท่ีเป็นไปในเชิงของการอนุรักษ์ และพัฒนาท้องถ่ินเกิดข้ึนอย่างเป็น
รปู ธรรม ซ่ึงกส็ อดคล้องกบั ข้อเสนอของ Natsuko Akagawa และ Tiamsoon Sirisrisak ในบทความ
เรื่อง Cultural Landscapes in Asia and the Pacific: Implications of the World Heritage Con-
vention (2008) ทเ่ี สนอใหร้ ฐั บาลในแตล่ ะประเทศมบี ทบาทในการใชเ้ กณฑท์ ส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพน้ื ที่
ทงั้ ยงั สามารถปกปอ้ งภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรมของประเทศตนเองซง่ึ อยใู่ นภาวะทเ่ี สยี่ งตอ่ การถกู ทำ� ลายในบรบิ ท
ท่ีหลายประเทศท่ัวโลกต้องเผชิญกับกระแสการพัฒนาที่เกิดขึ้นอย่างเชี่ยวกราก ดังจะเห็นได้จากใน
ประเทศไทยที่ชมุ ชนด้ังเดมิ ตอ้ งถูกไล่ร้ือหรือปรับสภาพพน้ื ท่ีใหเ้ อ้ือประโยชนต์ อ่ การพฒั นาทางเศรษฐกิจ

       แนวคดิ เกยี่ วกบั ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรมนี้ เปน็ แนวคดิ ทไ่ี ดร้ บั ความสนใจมากเปน็ พเิ ศษ โดยเฉพาะใน
ช่วงท่ีหน่วยงานระหว่างประเทศอย่างยูเนสโกได้น�ำไปใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินกิจกรรมท่ีเป็นไปเพื่อ
ใหค้ ณุ คา่ กบั ภมู ทิ ศั น์ โดยเรยี กวา่ ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรม เพราะในความเปน็ จรงิ แลว้ นนั้ จากทกี่ ลา่ วมาในเรอื่ ง
กอ่ นหน้าน้ีกท็ �ำใหน้ ักศกึ ษาเหน็ แลว้ ว่า ภมู ิทศั น์ ไม่ได้เปน็ เพยี งแค่สภาพพ้นื ทท่ี างธรรมชาติท่ีสร้างสรรค์
โดยธรรมชาตเิ ทา่ นนั้ หากแตห่ มายรวมถงึ สงิ่ ทเ่ี กดิ จากความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ บั สง่ิ ทอี่ ยรู่ อบตวั ดว้ ย
เชน่ เดยี วกนั ทงั้ ทเี่ ปน็ ไปเพอ่ื การเปลยี่ นแปลง ปรบั ปรงุ สรา้ งสรรค์ ไปจนถงึ การทำ� ลาย ดว้ ยเหตนุ เ้ี อง “ภมู ิ
ทัศน”์ และ “ภมู ทิ ัศนว์ ฒั นธรรม” จึงมคี วามแตกตา่ งกนั ในแงข่ องวัตถุประสงคข์ องการนำ� ไปใช้ มากกว่า
ในแงข่ องรายละเอยี ด ดงั กลา่ วนเี้ ปน็ ผลโดยตรงมาจากกลมุ่ อำ� นาจทสี่ ง่ ผลตอ่ การกำ� หนดลกั ษณะ ประเภท
ขอบเขต ไปจนถึงการน�ำไปประยุกต์ใช้ในแต่ละบริบท ส�ำหรับประเทศไทยน้ันได้น�ำเอาแนวคิดน้ีมาใช้ใน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39