Page 38 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 38
14-28 วฒั นธรรมกับการท่องเทยี่ ว
ความน�ำ
กิจกรรมการท่องเท่ียวซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปัจจุบันนั้น ข้อมูลจาก
เอกสารการสอนในหน่วยกอ่ นหน้าน้ีกไ็ ดแ้ สดงให้เห็นถงึ แล้ววา่ ถือเป็นกิจกรรมทเี่ ปน็ ไปเพ่อื ความบันเทิง
การพักผ่อนหย่อนใจ การรักษาฟน้ื ฟูรา่ งกาย การเรยี นรสู้ ่ิงตา่ งๆ ทีอ่ ยู่รอบตวั ฯลฯ ทง้ั ทเ่ี กดิ ขึ้นจากความ
ตงั้ ใจในการเดนิ ทางเพอื่ ทอ่ งเทย่ี วไปตามทต่ี า่ งๆ โดยตรง และมที แ่ี ฝงไปกบั กจิ กรรมอนื่ ๆ ดว้ ย เนอ้ื หาตอ่
จากน้ีผู้เขียนจะยกเอาบางช่วงเวลาที่มีความส�ำคัญ โดยจะน�ำไปเชื่อมโยงกับภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่มีความ
สัมพนั ธก์ บั จุดเด่นของรูปแบบการจัดการท่องเทยี่ วท่ีเกิดขนึ้ ในแตล่ ะช่วงเวลา โดยจะเห็นไดว้ ่า ผลกระทบ
ท่ีเกิดข้ึนจากทิศทางการพัฒนาประเทศที่เน้นสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นส�ำคัญ ดังที่นักศึกษาได้
ศกึ ษามาในชดุ วชิ าอน่ื ๆ กอ่ นหนา้ นแ้ี ลว้ และประกอบกบั การทปี่ ระเทศไทยประสบกบั วกิ ฤตการณท์ างเศรษฐกจิ
ใน พ.ศ. 2540 ด้วยเหตุนี้เองทิศทางในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-
2544) จึงได้ก�ำหนดทิศทางในการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้ การพฒั นาอย่างยง่ั ยนื (Sustainable Devel-
opment) และต่อมาในแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545-2549) ท่ีก�ำหนดใน
คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ทั้งยังน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นแนวทางในการ
พฒั นา ในบรบิ ทดงั กลา่ วนใี้ นภาคการทอ่ งเทยี่ วกม็ กี ารปรบั ตวั มากเชน่ เดยี วกนั โดยไดม้ กี ารวางแผนทเ่ี ปน็
ไปเพ่ือความย่ังยืน เน่ืองจากการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวในช่วงเวลาที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
ทรพั ยากรทงั้ ทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรมเปน็ อยา่ งมาก ดงั ทนี่ กั ศกึ ษาไดศ้ กึ ษามาในหนว่ ยกอ่ นหนา้ นแ้ี ลว้
โดยแผนการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวในบริบทนี้ก็ได้ให้ความส�ำคัญกับการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ ท้ังยังให้
ความสำ� คญั กบั การทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน (ภราเดช พยฆั วเิ ชยี ร, e-TAT Tourism Journal–การทอ่ งเทยี่ วแหง่
ประเทศไทย)
จากจดุ เปลยี่ นทงั้ ทศิ ทางการพฒั นาประเทศโดยภาพรวม รวมถงึ แผนการพฒั นาดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว
ท่ีกลา่ วมาในข้างต้น ผเู้ ขยี นจงึ แบง่ ชว่ งเวลาในการน�ำเสนอข้อมูลออกเปน็ 2 ชว่ ง โดยใช้ช่วง พ.ศ. 2540
เปน็ จดุ แบง่ โดยจะเรม่ิ จากชว่ งกอ่ น พ.ศ. 2540 และชว่ ง พ.ศ. 2540 ถงึ ปจั จบุ นั (พ.ศ. 2561) และจะเลอื ก
เอาช่วงเวลาที่มีความส�ำคัญที่มีความสัมพันธ์กับบริบททางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ท้ังน้ีผู้เขียน
ต้องการที่จะช้ีให้เห็นว่ากิจกรรมการท่องเท่ียวไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเป็นเอกเทศ หากแต่มีความสัมพันธ์กับ
บรบิ ทด้านอื่นๆ ด้วย และตอ้ งการช้ีใหเ้ ห็นต่อไปว่า ภมู ิทศั นว์ ัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กับการท่องเทย่ี วที่
เกิดขึ้นในแต่ละบรบิ ทอยา่ งไร โดยมีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี