Page 39 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 39
ภูมทิ ศั นว์ ฒั นธรรมกบั การท่องเทีย่ ว 14-29
เรื่องท่ี 14.2.1
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมในบริบทของการท่องเท่ียวก่อน พ.ศ. 2540
เมื่อพิจารณาถึงบริบทเกี่ยวกับการท่องเท่ียวในสังคมไทยน้ัน จะเห็นได้ว่ากิจกรรมการเดินทาง
เพ่ือท่องเที่ยวของประชาชนทั่วไป อาจกล่าวได้ว่าได้เกิดข้ึนอย่างจริงจังในช่วงพุทธทศวรรษท่ี 2500 มา
นเี่ อง หากยอ้ นกลับไปก่อนหน้าน้นั ในบริบทของสังคมแบบศักดินา ข้อมูลจากงานของ ป่นิ เพชร จ�ำปา
ซง่ึ ไดศ้ กึ ษาเกยี่ วกบั วฒั นธรรมการทอ่ งเทย่ี วของคนไทย พ.ศ. 2394-2544 ปน่ิ เพชรไดแ้ สดงใหเ้ หน็ วา่ เมอ่ื
พจิ ารณาจากหลกั ฐานทง้ั ทเ่ี ปน็ พระราชพงศาวดาร วรรณกรรมตา่ งๆ กไ็ มไ่ ดป้ รากฏขอ้ มลู เกยี่ วกบั การเดนิ
ทางไปตามทีต่ า่ งๆ ของประชาชนทวั่ ไปที่อยใู่ นฐานะของไพร่และทาส โดยขอ้ มลู จากหลักฐานไดแ้ สดงให้
เห็นวา่ มกี ารเดนิ ทางของพระมหากษัตริย์ เจา้ นาย เพ่อื ความสำ� ราญ และเพ่อื ทำ� กิจกรรมอันเกย่ี วเนอ่ื งกับ
พระพุทธศาสนา ซ่ึงข้อมูลในลักษณะน้ีปรากฏอยู่มากในสมัยกรุงศรีอยุธยา ส่วนข้อมูลจากนิราศท่ีแม้จะ
แตง่ โดยกวสี ามญั ชน สว่ นใหญก่ เ็ ปน็ การเดนิ ทางทเี่ พอื่ ตามเสดจ็ พระมหากษตั รยิ ไ์ ปตามทต่ี า่ งๆ ดงั กลา่ วนี้
เปน็ การเดนิ ทางทอี่ ยใู่ นลกั ษณะของการเดนิ ทางเพอ่ื ทำ� กจิ อยา่ งอนื่ แตม่ กี ารทอ่ งเทย่ี วเขา้ มาดว้ ย (ปน่ิ เพชร
จ�ำปา, 2545, น. 18-29)
คนอกี กลมุ่ หนง่ึ ทม่ี กี ารเดนิ ทางเพอ่ื ทำ� กจิ อยา่ งอนื่ หากแตม่ กี จิ กรรมการทอ่ งเทย่ี วรว่ มดว้ ย ทง้ั ยงั
มีการบันทึกเร่ืองราวต่างๆ เกี่ยวกับการเดินทางคือ กลุ่มของชาวตะวันตก บันทึกเหล่านี้ได้แสดงให้เห็น
ถงึ ภูมทิ ศั น์วัฒนธรรมในถิ่นทีพ่ วกเขาได้เดนิ ทางไป ซง่ึ นอกจากบันทึกการเดนิ ทางของซมี ง เดอ ลาลูแบร์
(Simon de La Loubère) เจา้ หนา้ ทกี่ ารทตู ของฝรัง่ เศสในสมัยพระเจา้ หลยุ ส์ท่ี 14 ท่ไี ด้เขา้ มาในดนิ แดน
ประเทศไทยในรชั สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชแหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา ซง่ึ ไดส้ ะทอ้ นภาพวถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ
ของผคู้ นตลอดจนสภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ ในแถบลมุ่ แมน่ ำ�้ เจา้ พระยาแลว้ ในสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ยกตวั อยา่ ง
เช่น บันทกึ ของเจมส์ โลว์ ซ่ึงได้รบั การแตง่ ตง้ั เปน็ ทูตของอังกฤษ (ตรงกบั รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั
เกล้าเจา้ อยหู่ ัว (รัชกาลท่ี 3)) ท่ีไดเ้ ดินทางจากเกาะปนี งั ขององั กฤษไปยังเมืองนครศรธี รรมราช ในบันทึก
ดงั กลา่ วเปน็ การจดบนั ทกึ รายวนั เกย่ี วกบั ธรรมชาตขิ องเมอื งชายทะเลภาคใตใ้ นฝง่ั ตะวนั ตก ไดแ้ ก่ ไทรบรุ ี
ตรัง สตูล ถลาง และพังงา นอกจากจะสะท้อนขอ้ มูลท่เี ปน็ สภาพทางธรรมชาตแิ ลว้ ยงั แสดงทัศนะเกยี่ ว
กบั การปกครอง คตนิ ยิ ม ประชากร อาชพี ศลิ ปวฒั นธรรมของผคู้ นในพนื้ ทบี่ รเิ วณนนั้ ดว้ ย (นนั ทา วรเนตวิ งศ์
(แปล), 2542, คำ� นำ� ) ในชว่ งราวครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19 (ชว่ งเวลาทอ่ี ยใู่ นรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้
เจ้าอยู่หวั (รชั กาลที่ 4) ถึงชว่ งรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว (รชั กาลท่ี 5)) กรุงเทพ
มหานครฯ ได้กลายเป็นจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยว ซึ่งจะเห็นได้ว่าเป็นชาวตะวันตก ดังกล่าว
เป็นสิ่งท่ีไม่น่าแปลกใจนัก เนื่องจากในช่วงเวลานั้นบ้านเมืองในแถบน้ีต่างก็ตกอยู่ภายใต้อ�ำนาจของ
จกั รวรรดนิ ยิ มตะวนั ตก เห็นไดจ้ ากวลิ เลียม ซอเมอร์ เซต มอห์ม (W. Somerset Maugham) นกั เขยี น
ชาวอังกฤษที่ได้เดินทางมาเยือนกรุงเทพมหานครใน ค.ศ. 1923 การเดินทางเข้ามาในครั้งนี้ยังได้สร้าง
แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานเขียนของเขา ข้อมูลการเข้าพักท่ีโรงแรมโอเรียลเต็ล ได้ปรากฏใน