Page 43 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 43
ภูมิทศั นว์ ฒั นธรรมกบั การทอ่ งเท่ยี ว 14-33
เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลที่ 7) ไดโ้ ปรดใหส้ รา้ งวงั ไกลกงั วลขน้ึ เพอ่ื พระราชทานแดส่ มเดจ็ พระนางเจา้ รำ� ไพพรรณี
พระบรมราชนิ ี เพื่อใช้ในการแปรพระราชฐาน (กรรณิการ์ ตนั ประเสริฐ, 2546) ในบริบทร่วมสมัยหัวหินก็
ยังคงเปน็ ท่ีนิยมในฐานะของแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วอย่างไมเ่ ส่ือมคลาย
ภาพที่ 14.11 วงั ไกลกังวล
ท่ีมา: https://library.stou.ac.th สืบคน้ เมอ่ื 12 ธันวาคม 2561
ผลจากสงครามโลกครง้ั ที่ 1 ท่ีต่อเนอ่ื งมาจนถงึ สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ส่งผลท�ำใหก้ ิจกรรมเก่ยี วกบั
การเดินทางท่องเท่ียวซบเซาลง การเดนิ ทางด้วยเรอื จากทวีปยุโรปและอเมรกิ าเหนอื มายังเอเชียต้องหยดุ
ชะงกั ดว้ ยภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ�่ และสงครามทต่ี อ่ เนอื่ งกนั มา หากแตส่ ถานการณก์ ารทอ่ งเทยี่ วไดก้ ระเตอ้ื ง
ข้ึนในช่วงหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 การเดินทางท่องเที่ยวของชาวตะวันตกได้กลับมาเป็นที่นิยมอีกคร้ัง
การเดนิ ทางไกลขา้ มประเทศเรม่ิ มมี ากขน้ึ เนอ่ื งจากการเตบิ โตของธรุ กจิ การบนิ ทท่ี ำ� ใหก้ ารเดนิ ทางมคี วาม
สะดวกรวดเร็ว ท้ังยังเป็นท่ีน่าสนใจว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจในช่วงเวลานี้ ส่งผลส�ำคัญต่อการจ้างงาน
และการเพ่ิมขึ้นของรายได้ ท�ำให้พลังในการบริโภคมีมากขึ้นตามไปด้วย กิจกรรมการท่องเท่ียวเดินทาง
เพือ่ พกั ผอ่ นกเ็ ป็นหนงึ่ ในน้นั (Beek, Steve Van, (2016) (ฉบบั แปลภาษาไทย ไม่มกี ารระบเุ ลขหน้า))
และย่ิงในบริบทของโลกในช่วงสงครามเย็น ซ่ึงเป็นการต่อสู้กันทางอุดมการณ์ระหว่างมหาอ�ำนาจอย่าง
สหรฐั อเมรกิ าและรัฐเซีย ในช่วงเวลานัน้ สหรฐั อเมรกิ าได้ใหค้ วามสนใจประเทศไทยเป็นพิเศษ ซง่ึ สมั พันธ์
กับความตึงเครยี ดทางการเมืองในช่วงเวลานน้ั
เป็นที่น่าสนใจว่าการเติบโตข้ึนของของกิจกรรมการท่องเท่ียวในประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับ
บริบทโลกในชว่ งเวลานด้ี ้วย โดยบริษทั เชกชี แห่งวอชงิ ตัน ด.ี ซ.ี (The Checchi Company of Wash-
ington DC) เป็นบรษิ ัททเ่ี ข้ามาในประเทศไทยภายใต้สัญญาทท่ี �ำกบั ของกระทรวงพาณิชย์สหรฐั อเมรกิ า
(The US Department of Commerce) ด้วยการสนับสนุนของสมาคมส่งเสริมการท่องเท่ียวภูมิภาค