Page 48 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 48

14-38 วฒั นธรรมกบั การท่องเทย่ี ว

เรื่องที่ 14.2.2
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมในบริบทของการท่องเที่ยว
ในช่วง พ.ศ. 2540–ปัจจุบัน (2561)

       ใน พ.ศ. 2540 เป็นช่วงท่ีประเทศไทยประสบกับวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจคร้ังใหญ่ ในขณะท่ี
กอ่ นหนา้ นน้ั โดยเฉพาะในชว่ ง พ.ศ. 2534-2537 เศรษฐกจิ ไทยเตบิ โตอยใู่ นระดบั สงู มากอ่ น (ครสิ เบเกอร์
และผาสุก พงษ์ไพจิตร, 2557, น. 379) และเพื่อเป็นการพลิกฟื้นเศรษฐกิจจะเห็นได้ว่าในช่วงเวลาน้ัน
ภาครัฐไดม้ แี นวทางการรณรงคต์ ามสโลแกนทว่ี ่า “ไทยชว่ ยไทย กินของไทย ใชข้ องไทย เทย่ี วเมืองไทย
ร่วมใจประหยัด” ในบริบทนี้การท่องเท่ียวก็ยังคงเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ส�ำคัญท่ีช่วยพยุงฐานะทาง
เศรษฐกจิ ของประเทศ ในสว่ นของกจิ กรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การทอ่ งเทย่ี วโดยตรงทผ่ี เู้ ขยี นจะนำ� มาเปน็ ประเดน็
สำ� คญั ในการนำ� เสนอขอ้ มลู ในเรอ่ื งท่ี 14.2.2 นคี้ อื ออกแคมเปญทม่ี ชี อื่ วา่ “อะเมซง่ิ ไทยแลนด”์ (Amazing
Thailand)

       “อะเมซง่ิ ไทยแลนด”์ เปน็ ชอ่ื กจิ กรรมทม่ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ สง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วโดยตรง ทไ่ี ดอ้ อก
มาในช่วงตงั้ แต่ พ.ศ. 2541-2542 ในช่วงเวลานนั้ ยงั ตรงกบั ช่วงของการเฉลิมฉลองทสี่ มเด็จพระปรมนิ ทร
มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่ 9) ทรงฉลองพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ ท้ังยังเป็นช่วงทป่ี ระเทศไทย
เปน็ เจา้ ภาพการแขง่ ขนั กฬี าเอเชยี่ นเกมสด์ ว้ ย แคมเปญนไี้ ดใ้ ชม้ าอยา่ งตอ่ เนอื่ ง หากแตม่ กี ารเปลย่ี นแปลง
รายละเอียดไปในแต่ละบริบท แคมเปญดังกล่าวนี้ทางภาครัฐและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้มุ่ง
ประชาสมั พนั ธเ์ ปน็ อยา่ งมาก โดยเนน้ การเปน็ เจา้ ภาพทด่ี เี พอื่ ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วกลบั มาเทย่ี วประเทศไทยอกี
ครั้งหนึ่ง และไม่เพยี งแตก่ ลมุ่ นักท่องเท่ยี วต่างชาตเิ ท่านั้นยงั เนน้ กลุ่มเป้าหมายทเ่ี ป็นคนไทยด้วย

       การรณรงคภ์ ายใตแ้ คมเปญ “อะเมซง่ิ ไทยแลนด”์ (Amazing Thailand) ในระหวา่ ง พ.ศ. 2541-
2542 นน้ั ไดเ้ นน้ การประชาสมั พนั ธส์ ถานทที่ อ่ งเทย่ี วทางธรรมชาตแิ ละทางวฒั นธรรมทส่ี ามารถสรา้ งความ
ต่ืนตาต่ืนใจให้แก่ผู้ท่ีมาท่องเท่ียว เน้นท้ังในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและภูมิภาคต่างๆ โดยได้มีการพัฒนา
กจิ กรรมการท่องเทย่ี วทีแ่ บง่ ออกเปน็ 3 กล่มุ ดว้ ยกัน ไดแ้ ก่

       1) 	กิจกรรมการจัดงานพระราชพิธีเสด็จพระราชด�ำเนินโดยขบวนพระพยุหยาตราชลมารค
พระราชพธิ นี ถ้ี อื เปน็ ความโดดเดน่ ทางวฒั นธรรมของประเทศไทย ซง่ึ เปน็ โบราณราชประเพณที สี่ บื ทอดตอ่
มาอยา่ งยาวนาน ในวนั ท่ี 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ก็ไดม้ กี ารเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ถวายผา้ พระกฐิน ณ
วดั อรุณราชวราราม โดยขบวนพระพยหุ ยาตราชลมารค (ใหญ)่

       2)	 กิจกรรมงานประเพณีในท้องถิ่นของจังหวัดต่าง ๆ ดงั กลา่ วนเี้ ปน็ การรณรงคใ์ หท้ อ้ งถนิ่ ตา่ งๆ
ไดพ้ ฒั นากจิ กรรมใหม้ ีความโดดเดน่ เพือ่ เป็นการกระจายความสนใจไปท่วั ประเทศ

       3)	 กิจกรรมพิเศษ เช่น มหกรรมกฬี า ดนตรี การแสดงนทิ รรศการศลิ ปะร่วมสมยั ศลิ ปะพืน้ บา้ น
โดยสง่ เสริมให้ภาคส่วนท่เี ก่ียวข้องได้เข้ามาร่วมจัดกจิ กรรมพิเศษเหล่าน้ีขึน้ (ปยิ ะดา จงสขุ วรากลุ , 2541,
น. 16, 19-20)
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53