Page 47 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 47
ภมู ิทัศน์วัฒนธรรมกับการท่องเทีย่ ว 14-37
จะเห็นได้ว่าการใช้ทรัพยากรในบริบทของการจัดการท่องเที่ยวในช่วงพุทธทศวรรษท่ี 2520
เป็นต้นมานี้ มีความแตกต่างไปจากช่วงเวลาก่อนหน้าที่พ้ืนที่ซึ่งสัมพันธ์กับการเดินทางท่องเที่ยวของคน
เฉพาะกล่มุ เทา่ นั้น และให้ความสนใจกบั พื้นทเ่ี ฉพาะแห่งเทา่ นนั้ ในช่วงเวลานจี้ ะเห็นได้วา่ ทรพั ยากรการ
ทอ่ งเทย่ี วจากทกุ ภมู ภิ าคไดเ้ รมิ่ ถกู ดงึ มาใช้ และในบรบิ ทของทนุ นยิ มนนั้ กจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี วเปน็ กจิ กรรม
ทชี่ ว่ ยเพมิ่ ปรมิ าณการบรโิ ภคไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก ซงึ่ เทา่ กบั วา่ เมอ่ื บรโิ ภคมากเทา่ ไหรก่ ย็ ง่ิ ชว่ ยเสรมิ สรา้ งความ
เติบโตของระบบมากเท่านั้น ประชาชนทั่วไปท่ีมีก�ำลังทรัพย์มากพอก็สามารถสนองความต้องการในการ
บริโภคของตนเองผ่านการท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศด้วย ดังกล่าวนี้ได้แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมการ
เดินทางท่องเท่ียวได้กลายเป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรมมวลชน (Mass Culture) ท่ีอยู่ภายใต้กลไกของ
ระบบทนุ นิยม มีกระบวนการผลิตสินค้าและบริการตา่ งๆ เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของผคู้ นแต่ละกลุ่ม
ในการเดินทางท่องเทย่ี วพักผ่อน
และนกี่ ค็ อื ภาพรวมของบรบิ ทการทอ่ งเทยี่ วกอ่ น พ.ศ. 2540 ทม่ี คี วามสว่ นทง้ั สรา้ งและใชภ้ มู ทิ ศั น์
วฒั นธรรมเพอ่ื เปน็ ประโยชนใ์ นกจิ กรรมการเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี ว ทงั้ ยงั ชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ การเปลย่ี นแปลงของสงั คม
ในเชงิ ของโครงสร้างทสี่ ะทอ้ นผา่ นกิจกรรมการท่องเทยี่ วเดนิ ทางดว้ ย เพราะในอดตี น้ันกจิ กรรมดังกลา่ วน้ี
ไม่ได้เปน็ กิจกรรมของประชาชนทวั่ ไป
กิจกรรม 14.2.1
กิจกรรมการท่องเที่ยวของไทยท่ีเกิดขึ้นในช่วงหลังครามโลกครั้งที่ 2 มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ภูมิทัศน์วฒั นธรรมอยา่ งไร
แนวตอบกิจกรรม 14.2.1
กจิ กรรมการทอ่ งเทยี่ วทมี่ คี วามโดดเดน่ ในชว่ งเวลานเ้ี ปน็ กจิ กรรมทมี่ คี วามเกยี่ วขอ้ งกบั กลมุ่ ทหาร
อเมรกิ นั ทม่ี ารบในสงครามเวยี ดนาม ประกอบกบั การทน่ี กั ลงทนุ ตา่ งชาตใิ หค้ วามสนใจเขา้ มาลงทนุ ในธรุ กจิ
ตา่ งๆ ซง่ึ ผลโดยตรงมาจากเสถยี รภาพในทางการเมอื งของไทยในชว่ งเวลานนั้ เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั ประเทศ
อนื่ ๆ ทอ่ี ยใู่ นภมู ภิ าคเดยี วกนั ขณะเดยี วกนั รฐั บาลเองกย็ งั ใหค้ วามสำ� คญั กบั การสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว โดย
เฉพาะในพนื้ ทเ่ี มอื งหลวงดว้ ย ดงั กลา่ วนส้ี ง่ ผลทำ� ใหธ้ รุ กจิ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การทอ่ งเทยี่ วเตบิ โตเปน็ อยา่ งมาก
เห็นได้จากการเติบโตข้ึนของธุรกิจโรงแรม ซ่ึงเป็นตึกสูงก็ถือว่าองค์ประกอบหนึ่งของเส้นขอบฟ้าของ
กรงุ เทพมหานครในชว่ งเวลานน้ั ท่ีท�ำใหภ้ มู ิทศั นว์ ฒั นธรรมของกรงุ เทพมหานคร ซงึ่ แตเ่ ดมิ มีวดั วาอาราม
และวงั เปน็ องคป์ ระกอบทสี่ ำ� คญั ของเสน้ ขอบฟา้ นอกจากนแ้ี ลว้ ยงั จะเหน็ ไดว้ า่ สถานประกอบธรุ กจิ บนั เทงิ
ต่างๆ ก็ได้เพิ่มจ�ำนวนและขยายตัวไปตามที่ต่างๆ ด้วย โดยเฉพาะในพ้ืนที่ซ่ึงเป็นที่ต้ังของฐานทัพ
สหรฐั อเมรกิ า