Page 42 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 42
14-32 วฒั นธรรมกับการทอ่ งเที่ยว
2545, น. 133-134) ในส่วนของหวั หนิ นน้ั ถึงแม้ว่าคณะราษฎรจะโจมตีว่าเปน็ ถิน่ ของเจ้า แต่ก็จะเห็นได้ว่า
หัวหินยังคงเป็นสถานที่ท่องเท่ียวท่ีได้รับความนิยมมาอย่างต่อเนื่อง (ปิ่นเพชร จ�ำปา, 2545, น. 123)
ความนยิ มในการเดนิ ทางไปทอ่ งเทยี่ วในสถานทเ่ี หลา่ นใี้ นเวลาตอ่ มากไ็ มไ่ ดจ้ ำ� กดั แตเ่ พยี งเฉพาะในกลมุ่ เจา้
นาย ชนชั้นสูง ข้าราชการเท่านั้น ในเวลาต่อมาประชาชนทั่วไปก็สามารถออกเดินทางท่องเที่ยวเพื่อพัก
ผอ่ นได้ หากเคา้ เหลา่ น้นั มีก�ำลังทางเศรษฐกิจมากพอ
จากทกี่ ลา่ วมาในขา้ งตน้ นี้ ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรมทม่ี คี วามโดดเดน่ ในบรบิ ทน้ี จะเหน็ ไดว้ า่ บนั ทกึ การ
เดนิ ทางของขา้ ราชการ ขนุ นาง ปญั ญาชนชาวสยาม/ไทยนนั้ ไดส้ ะทอ้ นขอ้ มลู ทแ่ี สดงถงึ ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรม
ในถิน่ ท่ีอยู่ของกลุ่มคน เม่อื พิจารณาจากงานบนั ทกึ ในชว่ งเวลานีแ้ ลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ ขอ้ มลู ทน่ี ำ� เสนอนนั้ มี 2
แบบด้วยกัน ซ่ึงเป็นนัยท่ีสะท้อนวิธีคิดของชนชั้นน�ำสยามในขณะน้ันต่อผู้คนแถบหัวเมืองท่ีอยู่ในท้องถ่ิน
ต่างๆ ทีต่ นไปเยอื น งานบนั ทกึ ดังกลา่ วน้สี ะทอ้ นขอ้ มูลเก่ยี วกับรูปร่างหน้าตาของผู้คน บ้านเรอื น อาหาร
การแตง่ กาย ภาษา เงินตรา ไปจนถึงการประกอบพธิ กี รรมต่างๆ เร่ืองราวของการต้อนรบั ขับสูข้ องผู้คน
เมอื่ คณะเดนิ ทางไปถงึ โบราณสถาน วดั และสถานทงี่ ดงาม เปน็ สสี นั ของวฒั นธรรมในแตล่ ะพน้ื ทซ่ี ง่ึ ไดเ้ ดนิ
ทางไป ขอ้ มลู ทส่ี ะทอ้ นถงึ กลมุ่ คนทอ่ี ยหู่ า่ งไกลศนู ยก์ ลางอำ� นาจของสยาม/ไทย ในทน่ี ค้ี อื กลมุ่ ของชาวปา่
จะเป็นข้อมูลท่ีสะท้อนออกมาในลักษณะที่เป็นความแปลกประหลาด ซึ่งแตกต่างจากกลุ่มของชาวบ้านที่
อยู่ในหัวเมืองหรือท้องถิ่นภายใต้ หรืออยู่ไม่ไกลจากศูนย์กลางอ�ำนาจของสยาม/ไทย (ธงชัย วินิจจะกูล,
2560, น. 52-53) ดงั กล่าวน้ีแสดงใหเ้ ห็นวา่ ภมู ิทัศน์วฒั นธรรมทีส่ ัมพนั ธ์กบั การเดนิ ทางเพอื่ ทำ� งาน ตรวจ
ราชการและ/หรอื ทอ่ งเทย่ี วในพน้ื ทซ่ี ง่ึ อยภู่ ายใตอ้ ำ� นาจของสยาม/ไทยในชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19 นนั้ สะทอ้ น
ให้เหน็ ว่ามภี มู ทิ ัศน์วฒั นธรรมอยู่ 2 รปู แบบคือ ภูมทิ ัศน์วัฒนธรรมทผ่ี ้เู ดินทางคุ้นเคยและไมค่ ุน้ เคย โดย
มีสาระอยู่ที่ความแตกต่างของพ้ืนท่ีและวฒั นธรรมของผู้คนท่เี ปน็ ไปตามบริบทของพืน้ ที่นัน้ ๆ
นอกจากในข้างต้นน้ีแล้วยังเห็นได้ว่า ภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่เอื้อต่อการเดินทางเพื่อพักผ่อนตาก
อากาศตัง้ แตใ่ นช่วงราวครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19 เปน็ ตน้ มานัน้ พนื้ ทีช่ ายฝ่ังทะเลจะไดร้ ับความนยิ มเป็นอย่าง
มาก ในท่ีนี้ผู้เขียนขอกล่าวถึงสถานตากอากาศหัวหิน ซ่ึงเป็นที่นิยมอย่างมากต้ังแต่สมัยพระบาทสมเด็จ
พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลท่ี 6) เปน็ ตน้ มา อนั เปน็ ผลสบื เนอื่ งมาจากการเปดิ เสน้ ทางเดนิ รถไฟสาย
ใต้ทีส่ รา้ งต่อมาจากสถานีเพชรบรุ ี ใน พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911 (ตน้ คริสต์ศตวรรษท่ี 20)) ซงึ่ ทีม่ าของการ
พบสถานตากอากาศหัวหินแห่งนี้ มีที่มาจากข้อมูลรายงานใน พ.ศ. 2449 เกี่ยวกับการส�ำรวจเพ่ือสร้าง
เส้นทางรถไฟสายใต้ โดยนายเฮนรี กินตินส์ (Henry Gittins) และสมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ
จากรายงานดังกล่าวได้ปรากฏข้อมูลว่า ได้พบชายทะเลที่เหมาะสมกับการสร้างเมืองตากอากาศ และมี
สถานสี องแหง่ ทน่ี า่ จะเปลย่ี นเปน็ สถานพกั ตากอากาศ ทงั้ ยงั แนะนำ� ใหแ้ ปรสภาพชายหาดเพอื่ สรา้ งรสี อรท์
ดว้ ย (ปรามินทร์ เครือทอง, 2552, น. 145-146) ก่อนหน้านชี้ ายหาดหัวหนิ เป็นชายหาดร้างอันเนื่องมา
จากพนื้ ทบ่ี รเิ วณชายทะเลมหี นิ อยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก เมอ่ื เสน้ ทางรถไฟสายใตเ้ ปดิ ทำ� การใน พ.ศ. 2454 แลว้
ส�ำหรบั ความนิยมในชายหาดหวั หนิ ในฐานะเมอื งตากอากาศน้ี อาจกลา่ วไดว้ า่ มจี ดุ เรมิ่ ต้นทีส่ �ำคญั จากการ
ทพ่ี ระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระนเรศวรว์ รฤทธิ์ ทรงเปน็ ผบู้ กุ เบกิ สรา้ งตำ� หนกั แสนสำ� ราญสขุ เวศนเ์ ปน็ แหง่
แรก หลงั จากนน้ั เจา้ นาย ขา้ ราชการ และคหบดตี า่ งกเ็ ดนิ ทางมาจบั จอง ซอ้ื ทดี่ นิ เพอ่ื ปลกู ตำ� หนกั และบา้ น
พกั เปน็ จำ� นวนมาก (ปรามนิ ทร์ เครอื ทอง, 2552, น. 149-150) ใน พ.ศ. 2469 พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้