Page 41 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 41
ภูมิทัศนว์ ฒั นธรรมกบั การท่องเทยี่ ว 14-31
(อยใู่ นช่วงสมยั รชั กาลท่ี 3 จนถงึ พ.ศ. 2475) ปรีดีได้แสดงให้เห็นว่าแนวคดิ เกี่ยวกบั เวลาว่างนน้ั เกดิ ขึ้น
ในชว่ งครงึ่ หลงั ของครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19 แตก่ ส็ ามารถทจี่ ะยอ้ นกลบั ไปไดถ้ งึ ในชว่ งครสิ ตท์ ศวรรษท่ี 1830 ที่
เป็นผลมาจากการรบั เอาอิทธิพลจากตะวนั ตกท่ีเริ่มจากในกลุ่มของชนชั้นสูง ซ่ึงเทคโนโลยีท่ีสำ� คญั ท่ไี ดร้ บั
เขา้ มา และสง่ ผลตอ่ วธิ คี ดิ เกยี่ วกบั เวลาวา่ งคอื การใชน้ าฬกิ าระบบเวลาแบบ 24 ชว่ั โมง แทนการบอกเวลา
แบบเดมิ รวมถึงการใช้ปฏิทนิ แบบตะวันตก ดงั กลา่ วน้ีเป็นผลท�ำใหเ้ กดิ หลักการเกีย่ วกบั การแบ่งเวลาทม่ี ี
ความชัดเจนมากย่ิงข้ึน ต่อมาเป็นผลท�ำให้เกิดความสัมพันธ์ทางสังคมในรูปแบบใหม่ ท้ังยังเชื่อมโยงกับ
ระบบเศรษฐกจิ ในแบบตลาดดว้ ย ในแงข่ องการทำ� ใหก้ จิ กรรมในเวลาวา่ งกลายเปน็ สนิ คา้ ในประเดน็ เกย่ี ว
กับการใช้เวลาว่างน้ียังมีความสัมพันธ์กับรัฐที่เข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการจัดการ ท้ังยังได้รับประโยชน์
จากการใช้เวลาวา่ งของประชาชน (Hongsaton, Preedee, 2015, abstract, pp. 33-34, 41)
ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว งานของปรีดีได้ให้ข้อมูลว่าการคมนาคมในระบบรางใน
ประเทศไทยตั้งแต่ในสมัยรัชกาลท่ี 5 เป็นเทคโนโลยีที่มีความสัมพันธ์การรับเอาระบบเวลามาใช้ เห็นได้
จากตารางการเดินรถท่ีมีการก�ำหนดช่วงเวลา ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อวัฒนธรรมเวลาว่าง โดยได้อ้างงาน
J. Anthonio ทใ่ี ชช้ อ่ื วา่ The 1904 traveller's guide to Bangkok and Siam (1997)7 ทไี่ ดก้ ล่าวถงึ
หนงั สอื แนะนำ� สำ� หรบั ชาวตะวนั ตกในการเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี วในสยาม โดยไดโ้ ฆษณาเกยี่ วกบั การทอ่ งเทย่ี ว
ตามเส้นทางรถไฟที่เหมาะแก่การยิงและล่าสัตว์ นอกจากน้ีแล้วยังให้ข้อมูลว่าที่พักซ่ึงเป็นท่ีนิยมของชาว
กรงุ เทพฯ ได้แก่ ศรรี าชา สชี งั จงั หวดั ชลบุรี อ่างหิน จงั หวดั เพชรบุรี โดยได้ใหข้ ้อมูลว่าเหมาะแก่การหา
จดุ เพอ่ื ยงิ สตั วต์ ลอดแนวชายหาด ขอ้ มลู ดงั กลา่ วนเี้ ปน็ ขอ้ มลู ดงึ ดดู ชาวตะวนั ตกในกลมุ่ นกั ธรรมชาตวิ ทิ ยา
นักกีฏวิทยา (ศึกษาแมลง) ไปจนถึงพวกท่ีนิยมล่าสัตว์เป็นกีฬา (Hongsaton, Preedee, pp. 84-85)
และผลพวงจากการขยายเสน้ ทางรถไฟสายใต้ จากงานของกรรณิการ์ ตันประเสริฐ เรอ่ื งจดหมายเหตวุ ัง
ไกลกังวลสมัยรชั กาลท่ี 7 (2546)8 (Hongsaton, Preedee, pp. 84-85) ทต่ี อ่ มาทแี่ ถบชายฝ่ังทะเลทาง
ดา้ นตะวนั ตกของอา่ วไทยอยา่ งหวั หนิ ไดก้ ลายเปน็ ทน่ี ยิ มของพระมหากษตั รยิ ์ และพระบรมวงศานวุ งศ์ โดย
พ.ศ. 2469 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยูห่ วั (รชั กาลท่ี 7) ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สรา้ งพระราชวังไกล
กังวลขนึ้ (Hongsaton, Preedee, p. 85)
ระบบราชการใหม่ที่มีการใหเ้ งินเดือน มวี นั หยุด และวันลา ยังสะทอ้ นใหเ้ หน็ ว่านอกจากกลุม่ ของ
กษตั รยิ แ์ ละเชอื้ พระวงศแ์ ลว้ ในกลมุ่ ของขนุ นางขา้ ราชการ ขอ้ มลู การลาราชการของขา้ ราชการในชว่ ง พ.ศ.
2445–2474 ได้แสดงให้เห็นว่าการขอหยุดราชการโดยส่วนใหญ่น้ัน เป็นไปเพื่อการพักผ่อนตากอากาศ
และเปลี่ยนอากาศรกั ษาอาการเจ็บป่วย สถานท่ีซงึ่ ได้รบั ความนยิ มเปน็ อยา่ งมากคือ ชายทะเล (ปิน่ เพชร
จำ� ปา, 2545, น. 70, 74-77) ความนยิ มในการพกั ผอ่ นเพอื่ ตากอากาศยงั คงไดร้ บั ความนยิ มในกลมุ่ ชนชนั้
นำ� อย่างตอ่ เนือ่ ง เหน็ ได้จากในยคุ คณะราษฎร ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม (สมัยท่ี 1 ในชว่ ง
ระหวา่ งปี พ.ศ. 2481-2487 )ไดส้ รา้ งสถานตากอากาศบางปู (จงั หวดั สมทุ รปราการ) ขนึ้ เพอ่ื เปน็ สถานที่
พกั ผอ่ นหยอ่ นใจใหแ้ กป่ ระชาชนในเมอื งหลวง โดยมเี วทลี ลี าศทไี่ ดช้ มบรรยากาศรมิ ทะเล (ปน่ิ เพชร จำ� ปา,
7 Anthonio, J. (1997). The 1904 Traveller’s Guide to Bangkok and Siam. Bangkok: White Lotus.
8 กรรณิการ์ ตันประเสรฐิ . (2546). จดหมายเหตวุ ังไกลกังวลสมยั รัชกาลท่ี 7. กรุงเทพฯ: มติชน.