Page 33 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 33

ภูมิทัศนว์ ฒั นธรรมกับการทอ่ งเท่ยี ว 14-23

       1)	 ภูมทิ ัศน์ทางประวตั ิศาสตร์ (Historic Site) ในทน่ี คี้ ือพืน้ ทีซ่ งึ่ มีความสำ� คัญในฐานะท่มี คี วาม
สัมพันธก์ ับเหตุการณท์ างประวตั ิศาสตร์ กจิ กรรมหรอื บุคคล

       2)	 ภูมิทัศน์ทางประวัติศาสตร์ที่ออกแบบขึ้น (Historic Designed Landscape) เป็นพื้นท่ีซึ่ง
เกิดจากการออกแบบข้ึนจากสถาปนิก นักออกแบบสวนหรืออาจจะเป็นการจัดและออกแบบสวนโดยมือ
สมัครเล่นทมี่ รี ูปแบบหรือแบบแผน

       3)	 ภมู ทิ ศั นท์ างประวตั ศิ าสตรท์ เ่ี ปน็ แบบพน้ื เมอื งหรอื พนื้ ถนิ่ (Historic Vernacular Landscape)
เปน็ พื้นที่แสดงถงึ พัฒนาของการใชพ้ น้ื ทขี่ องผู้คน ซึ่งมีกจิ กรรมทแี่ ตกตา่ งกันไป โดยส่งผลตอ่ รูปแบบของ
พืน้ ทน่ี น้ั ๆ

       4)	 ภูมิทัศน์ท่ีเก่ียวเน่ืองกับความเป็นชาติพันธุ์ (Ethnographic Landscape) เป็นพื้นท่ีซึ่ง
ประกอบด้วยความหลากหลายทางธรรมชาตแิ ละทรพั ยากรทางวัฒนธรรมซ่ึงมีความสมั พันธก์ ับผู้คน และ
สามารถนิยามไดว้ ่าเปน็ ทรัพยากรทเี่ ปน็ มรดก (NPS, online)

       โดยภาพรวมทงั้ สว่ นนมี้ จี ดุ ยนื ในการนยิ ามทเี่ หมอื นกนั ทง้ั ยงั มที ศิ ทางในการดำ� เนนิ งานทเี่ ปน็ ไป
เพอื่ การอนรุ กั ษเ์ ชน่ เดยี วกนั หากแตก่ ม็ ใี นบางประเดน็ ทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไป เหน็ ไดจ้ ากในกรณขี องการให้
ความสนใจกบั ผลจากการกระท�ำของสัตว์ หอ้ งหรอื สถานที่สำ� หรับการประกอบพธิ ที างศาสนา5

       นอกจากน้ีแล้วแม่แบบท่ีส�ำคัญของการด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับภูมิทัศน์วัฒนธรรมยังมีความ
สมั พนั ธก์ บั อนสุ ญั ญาภมู ทิ ศั นข์ องยโุ รป (European Landscape Convention) โดยเปน็ แนวทางทสี่ ำ� คญั
สำ� หรบั การดำ� เนนิ งานดว้ ย หากแตใ่ นอนุสญั ญาภมู ิทัศนข์ องยุโรป (Europe Landscape Convention)
ทสี่ ภายโุ รป (Council of Europe) บงั คบั ใชใ้ น ค.ศ. 2000 ปรากฏขอ้ มลู ทท่ี ำ� ใหเ้ หน็ วา่ ไดม้ งุ่ เนน้ ไปทกี่ าร
ให้ความส�ำคัญกับบทบาทของภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้คน และได้ให้ความส�ำคัญ
กบั การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ทงั้ นใี้ นอนสุ ญั ญาภมู ทิ ศั นย์ โุ รปไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั ภมู ทิ ศั นใ์ นทกุ รปู แบบ ทงั้ ทเ่ี ปน็
พืน้ ทีช่ นบท พน้ื ที่ก่งึ เมืองก่ึงชนบท พน้ื ทเี่ มือง ที่มีความสมั พนั ธก์ ับการดำ� เนินวิถีชีวติ ของผ้คู น ทัง้ พนื้ ท่ี
ซ่งึ ถูกให้คณุ คา่ วา่ มีความงาม ไปจนถงึ พืน้ ทีเ่ สือ่ มโทรม โดยไดน้ �ำเอาแนวคดิ ที่เปน็ องค์รวมมาใช้ โดยให้
ความส�ำคัญกบั ความย่ังยนื ประกอบกบั ท�ำความเขา้ ใจเงอื่ นไขของมนษุ ยท์ เี่ ปน็ ไปตามกระบวนการในทาง
ธรรมชาตแิ ละวัฒนธรรม และประเดน็ ท่ีมีความแตกตา่ งไปจากการด�ำเนนิ งานของยูเนสโกอย่างชดั เจนคือ
ประเดน็ ทไ่ี มไ่ ดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั การอนรุ กั ษภ์ มู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรมดว้ ยการใชเ้ กณฑค์ ณุ คา่ ทเี่ ปน็ สากล (เทยี มสรู ย์
สริ ศิ รีศกั ดิ์ และ Natsuko Akagawa, 2553, น. 108-09; Roe, M. H., 2007, pp. 1,10)

       ในขา้ งตน้ นเ้ี หน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ ยเู นสโกเปน็ หนว่ ยงานทม่ี บี ทบาทสำ� คญั อยา่ งมากในการดำ� เนนิ
การเพ่ือสร้างมาตรฐานอันเป็นสากลในการจัดการเกี่ยวกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม ที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือ
บทบาทในเร่ืองของการข้ึนทะเบียนมรดกโลก ทั้งยังสามารถถอนการเป็นมรดกโลกด้วยเช่นกัน ในอีก
ประเด็นหนึ่งท่ีมีความน่าสนใจคือ เราจะสังเกตเห็นได้ว่าการให้ค�ำนิยามไปจนถึงการแบ่งประเภทของ
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมจากท่ีกล่าวมาแล้วในข้างต้น ล้วนแล้วมีความสัมพันธ์กับหน่วยงานที่มีอ�ำนาจในการ

         5 ผู้ท่ีสนใจสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้วิทยานิพนธ์ของ Eleni M. Caravanos เรื่อง Cultural Landscape
Preservation in United States National Parks: Analysis and Recommendations for U.S. Cultural Landscapes Eli-
gible for Nomination to UNESCO
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38