Page 28 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 28
14-18 วฒั นธรรมกับการท่องเทย่ี ว
แนวตอบกิจกรรม 14.1.2
การพิจารณาในประเด็นทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับภูมิทัศน์นนั้ องค์ประกอบที่สำ� คญั ทไ่ี ม่อาจละเลยไปเสยี ได้
คอื องคป์ ระกอบทอี่ ยเู่ บอื้ งหลงั แมจ้ ะเปน็ สง่ิ ทเี่ ราจะไมส่ ามารถมองเหน็ ไดด้ ว้ ยตา และ/หรอื รสู้ กึ ไดโ้ ดยตรง
หากแต่ความหมายที่แฝงอยู่เป็นส่ิงท่ีช่วยท�ำให้ภูมิทัศน์มีพลังในการสื่อสาร เห็นได้จากเรื่องเล่าเก่ียวกับ
พนื้ ท่ี หรอื สถานทใ่ี ดทห่ี นงึ่ ทเี่ มอื่ ประกอบกบั สงิ่ ทอี่ ยตู่ รงหนา้ หรอื ทเ่ี รารสู้ กึ ได้ กย็ อ่ มทจ่ี ะทำ� ใหภ้ มู ทิ ศั นน์ นั้
กลายเปน็ ตวั แทน หรอื มพี ลงั ทสี่ ามารถสอ่ื สารบางสง่ิ บางอยา่ งไดอ้ ยา่ งชดั เจน จนราวกบั วา่ ภมู ทิ ศั นด์ งั กลา่ ว
มคี ณุ คา่ และความหมายในตวั ของมนั เอง ยกตวั อยา่ งเชน่ อนสุ รณค์ วามทรงจำ� เหตกุ ารณ์ 9/11 (9/11 Me-
morial) ในกรงุ นวิ ยอรก์ สหรัฐอเมริกา สถานทซี่ งึ่ เกดิ โศกนาฏกรรมตกึ เวดิ ล์ เทรดเซน็ เตอรถ์ ลม่ จากการ
ก่อวินาศกรรมในวนั ที่ 11 กนั ยายน ค.ศ. 2001 แมว้ ่าจะเหลือใหเ้ หน็ เพยี งฐานของตกึ ท้งั สองตึก หากแต่
เรอื่ งราว ขอ้ มลู จดั แสดงตา่ งๆ ในพพิ ธิ ภณั ฑ์ รวมถงึ บรรยากาศโดยรอบ กย็ งั คงมสี ว่ นสำ� คญั ในการสอื่ สาร
ให้ผมู้ าเยอื นไดร้ บั รู้ถึงโศกนาฏกรรมในครั้งน้นั
เร่ืองที่ 14.1.3
แนวคิดเก่ียวกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม
“ภูมทิ ัศนว์ ัฒนธรรม” เป็นคำ� ในภาษาไทยทใี่ ชแ้ ทนคำ� ในภาษาองั กฤษคำ� ว่า “Cultural Land-
scape” ใน ค.ศ. 1992 ในท่ีประชุมมรดกโลก (The World Heritage Convention) โดยองค์การการ
ศกึ ษาวทิ ยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) ไดม้ กี ารออกกฎหมายระหวา่ งประเทศ
เพือ่ บังคบั ใช้ในการคุ้มครองภมู ทิ ัศนว์ ฒั นธรรมเป็นคร้งั แรก ในปัจจบุ ันนไี้ ด้มีการขึน้ ทะเบียนพนื้ ท่ีในฐานะ
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเป็นมรดกโลก ในประเทศไทยน้ันยังไม่มีพ้ืนที่ใดที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก
ในบรบิ ทน้ี โดยสว่ นใหญแ่ ลว้ พนื้ ทซี่ ง่ึ ไดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี นจะอยใู่ นโซนยโุ รป และอเมรกิ าเหนอื (Akagawa,
Natsuko and Sirisrisak, Tiamsoon, 2008, p. 181)