Page 32 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 32
14-22 วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
จากท่ีได้กล่าวมาแล้วในเบื้องต้นเกี่ยวกับบทบาทของนักภูมิศาสตร์ในการศึกษาเก่ียวกับภูมิทัศน์
ด้วยเหตุน้ีเองการศึกษาเกี่ยวกับภูมิทัศน์วัฒนธรรมจึงมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับนักภูมิศาสตร์ โดย
เป็นการศึกษาที่ได้รับอิทธิพลทางความคิด และได้พัฒนามาจากการศึกษาในแขนงหนึ่งของภูมิศาสตร์คือ
ภมู ศิ าสตรม์ นษุ ย์ (Human Geography) ทศี่ กึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ บั การเปลยี่ นแปลงเชงิ พนื้ ท่ี
ในแต่ละชว่ งเวลา ซงึ่ แตกตา่ งไปจากการศกึ ษาของกลุม่ นกั ภูมิศาสตรก์ ายภาพ (Physical Geographer)
ท่ีมุ่งศึกษาการเปล่ียนแปลงของพ้ืนที่ซึ่งเป็นผลมาจากธรรมชาติ กล่าวคือ สนใจความเปล่ียนแปลงที่เป็น
ไปตามธรรมชาตินั่นเอง สงิ่ ทีเ่ ห็นไดใ้ นบรบิ ทรว่ มสมัยคอื การน�ำแนวคดิ ภูมิทศั นว์ ฒั นธรรมไปประยุกตใ์ ช้
ในบรบิ ทของการอนรุ กั ษ์มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage)
ในบริบทของน้ีหน่วยงานท่ีมีบทบาทเป็นอย่างมากคือ องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และ
วฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) โดยด�ำเนนิ งานอยภู่ ายใตข้ อ้ กำ� หนดของอนุสญั ญามรดกโลก
(Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Nature Heritage หรือ
World Heritage Convention) หลังจากทีไ่ ด้มกี ารก�ำหนดใหภ้ ูมทิ ัศน์วฒั นธรรมเปน็ หนึง่ ในมรดกโลกใน
ค.ศ. 1992 แล้ว กไ็ ดม้ ีการประกาศใหน้ าขั้นบันไดในประเทศฟลิ ิปปินสท์ ่ถี ือวา่ เปน็ ภูมิทศั น์ทางการเกษตร
และไบลแนวนั (The Blaenavon Industrial Landscape) ในสหราชอาณาจกั ร ซงึ่ เปน็ ภมู ทิ ศั นข์ องเมอื ง
อตุ สาหกรรมเป็นแหล่งมรดกโลก ใน ค.ศ. 1995 และ 2000 (ตามล�ำดบั )4
ในเอกสารคมู่ อื สำ� หรบั การนำ� อนสุ ญั ญามรดกโลกไปบงั คบั ใช้ (Operational Guidelines for the
Implementation of the World Heritage Convention) ของศูนยม์ รดกโลก (World Heritage Cen-
ter) ได้ให้ข้อมูลเกย่ี วกบั การแบ่งภมู ทิ ัศนว์ ัฒนธรรมออกเป็น 3 รูปแบบดว้ ยกนั ไดแ้ ก่
1) ภมู ทิ ัศนว์ ฒั นธรรมท่ีสรา้ งข้ึนโดยมนุษย์ (Created By Man) เช่น สวน สวนสาธารณะ เป็น
สง่ิ ทสี่ รา้ งขนึ้ มาโดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นทางสนุ ทรยี ะ ซงึ่ อาจจะมคี วามเกย่ี วเนอื่ งกบั ศาสนาหรอื อนสุ รณส์ ถาน
รวมถงึ องค์ประกอบร่วมอนื่ ๆ ในพืน้ ท่ี
2) ภมู ทิ ศั นท์ เ่ี ปน็ พฒั นาการของสงิ่ มชี วี ติ มาตงั้ แตใ่ นอดตี (Organically Evolved Landscapes)
แหล่งฟอสซิลรวมถึงภูมิทัศน์ท่ีมีความสืบเนื่องมีความสัมพันธ์กับการด�ำเนินวิถีชีวิตของผู้คน โดยยังคงมี
พัฒนาการ ในขณะเดยี วกันกม็ หี ลักฐานสำ� คัญทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงพฒั นาการตลอดช่วงระยะเวลาทผ่ี ่านมา
3) ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรมในเชงิ เชอื่ มโยง (Associative Cultural Landscape) เปน็ การรวมภมู ทิ ศั น์
ท่ีอยู่ในทะเบียนมรดกโลก ที่มีความเกี่ยวโยงกับศาสนา ศิลปกรรม หรือวัฒนธรรมท่ีมีความเช่ือมโยงกับ
ธรรมชาติ ที่ไม่ใช่เพียงหลักฐานท่ีเป็นวัตถุทางวัฒนธรรมซึ่งอาจจะยังคงมีความส�ำคัญหรือแม้กระท่ังไม่
ปรากฏอย่แู ล้วกต็ าม (UNESCO, 2008, p. 86)
ย้อนกลับไปก่อนหน้าที่ภูมิวัฒนธรรมจะถูกบรรจุไว้ในอนุสัญญามรดกโลกของยูเนสโก ใน ค.ศ.
1981 ส�ำนกั อุทยานแหง่ ชาติ (National Park Service) ของสหรฐั อเมรกิ า ไดแ้ บง่ ประเภทของทรพั ยากร
ในฐานะทเี่ ปน็ ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรม โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั ประวตั ศิ าสตรแ์ ละผคู้ น เหน็ ไดจ้ ากการแบง่ ภมู ทิ ศั น์
วัฒนธรรมออกเปน็ 4 รปู แบบด้วยกัน ไดแ้ ก่
4 ดูรายละเอียดเพิ่มเตมิ ใน https://whc.unesco.org