Page 43 - การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
P. 43

แหล่งช่วยคน้ คว้าประเภทสารานุกรม พจนานุกรมและศพั ทบ์ ัญญัติ และนามานกุ รม 6-33

เรื่องที่ 6.2.1
ความหมาย ความสำ� คญั และประเภทของพจนานกุ รมและศพั ทบ์ ญั ญตั ิ

1. ความหมายของพจนานุกรมและศัพท์บัญญัติ

       1.1 	พจนานุกรม (dictionary) หมายถึง เครื่องมือช่วยค้นคว้าท่ีรวบรวมความรู้และให้ข้อมูล
เกย่ี วกับค�ำในด้านตา่ งๆ ได้แก่ ความหมายของค�ำ การสะกดคำ� วธิ อี ่านคำ� ชนิดของคำ� จำ� นวนพยางค์
คำ� เหมอื น คำ� ตา่ ง คำ� ตรงกนั ขา้ ม คำ� พอ้ ง ตวั ยอ่ นอกจากนย้ี งั ใหร้ ายละเอยี ดอน่ื ๆ เพม่ิ เตมิ อกี เชน่ ประวตั ิ
ทมี่ าของคำ� หนา้ ทข่ี องคำ� วธิ ใี ชค้ ำ� และตวั อยา่ งประโยคประกอบ ตลอดจนแผนภมู ิ ตาราง และภาพประกอบ
เพอื่ เสรมิ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของค�ำไดม้ ากย่งิ ขน้ึ พจนานกุ รมนอกจากจะให้เป็นประโยชนแ์ ก่
ผู้ใช้ในเรื่องเก่ียวกับค�ำแล้ว ยังให้ความรู้เก่ียวกับความเป็นอยู่และขนบธรรมเนียมประเพณีอีกด้วย โดย
ปกติมักจัดเรียงข้อมูลตามล�ำดับอักษร (The American Heritage Dictionary of the English
Language, 2018; Reitz, 2004, pp. 214-215)

       แต่ก่อนพจนานุกรมยังไม่มีช่ือเฉพาะ จึงมีการเรียกชื่อต่างๆ กันแล้วแต่ผู้รวบรวมจะตั้งชื่อ เช่น
เรยี กทบั ศพั ทภ์ าษาองั กฤษวา่ “ดกิ ชนั นาร”ี หรอื “อกั ขราภธิ านศรบั ท”์ หรอื “ศรพิ จนะภาษาไทย” เปน็ ตน้
(สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน เล่ม 20 2529, น. 12581) นอกจากน้ี ยงั มีคำ� ว่า “ปทานุกรม”
หมายถงึ หนงั สอื สำ� หรบั คน้ ควา้ ความหมายของคำ� ทเี่ รยี งตามลำ� ดบั บท (พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน
พ.ศ. 2554, 2556, น. 697)

       ส่วนค�ำว่า “อภิธานศัพท์” หรือ “glossary” หมายถึง บัญชีค�ำศัพท์เฉพาะหรือศัพท์เทคนิค
ซง่ึ น�ำเสนอในหนังสือส่วนเน้อื หา/เน้ือเร่ือง โดยไดร้ วบรวมและเรยี งตามลำ� ดบั อักษร พรอ้ มใหค้ วามหมาย
ทง้ั นเี้ พอ่ื ใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจความหมายของค�ำศพั ทแ์ ละเนอ้ื หาภายในหนงั สอื อภธิ านศพั ทน์ อกจากจะจดั พมิ พ์
ในส่วนอ้างอิงและเพ่ิมเติมซ่ึงอยู่ท้ายเล่มหนังสือแล้ว อาจมีการจัดพิมพ์เป็นตัวเล่มในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง
โดยเฉพาะ (Prytherch, 2016)

       นอกจากนี้ ยงั มคี ำ� วา่ “อรรถาภธิ าน” หรอื “thesaurus” มาจาก “อรรถ” และ “อภธิ าน” การใช้
ค�ำไทยแทนคำ� วา่ thesaurus มหี ลากหลาย อาทิ “อรรถาภิธาน”และ “ธซิ อรัส” หมายถงึ หนงั สืออ้างอิง
ท่ีรวบรวมค�ำศัพท์ท่ีมีความหมายคล้ายกันหรือตรงกันข้ามกันมาจัดไว้ในกลุ่มเดียวกัน เช่น พจนานุกรม
ค�ำพ้อง พจนานกุ รมคำ� เหมอื น พจนานกุ รมคำ� ตรงกันขา้ ม เปน็ ตน้

       1.2 	ศัพท์บัญญัติ (terminology) หมายถงึ คำ� ทต่ี ราหรอื กำ� หนดขน้ึ ไวใ้ หม้ คี วามหมายเฉพาะเปน็
เร่ืองๆ ไป (พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554, 2556, น. 1139) ศัพท์บญั ญัตเิ กดิ ข้ึนจาก
การคิดค้นหาค�ำในภาษาไทยท่ีมีความหมายตรงหรือใกล้เคียงกับศัพท์นั้นๆ มาก�ำหนดเป็นศัพท์บัญญัติ
หากหาคำ� ในภาษาไทยทเี่ หมาะสมไมไ่ ด้ จงึ คดิ หาคำ� บาลหี รอื สนั สกฤต ถา้ ไมม่ ศี พั ทค์ ำ� ใดทเี่ หมาะสมจงึ จะ
ใช้วิธีทับศัพท์ และเรียกศัพท์ท่ีคิดข้ึนใหม่นั้นว่า ศัพท์บัญญัติ เช่น ค�ำว่า computer มีศัพท์บัญญัติว่า
คณิตกรณ์ แต่ก็ใช้ค�ำทับศัพท์ว่า คอมพิวเตอร์ ก็ได้ ค�ำว่า software มีศัพท์บัญญัติว่า ส่วนชุดค�ำสั่ง
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48