Page 47 - การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
P. 47
แหลง่ ชว่ ยคน้ คว้าประเภทสารานุกรม พจนานุกรมและศพั ทบ์ ัญญตั ิ และนามานกุ รม 6-37
เรื่องที่ 6.2.2
การประเมินแหล่งช่วยค้นคว้าและการใช้พจนานุกรมและศัพท์บัญญัติ
1. การประเมินแหล่งช่วยค้นคว้าประเภทพจนานุกรมและศัพท์บัญญัติ
การประเมินแหล่งช่วยคน้ คว้าประเภทพจนานุกรมและศัพทบ์ ญั ญัติ สามารถพจิ ารณาจากเกณฑ์
ตา่ งๆ คอื หลกั ฐานความนา่ เชอื่ ถอื ขอบเขตและการนำ� เสนอเนอ้ื หา ความถกู ตอ้ งของเนอ้ื หา ความทนั สมยั
ของเนอื้ หา รปู แบบในการจดั ทำ� การสะกดคำ� และการอา่ นออกเสยี ง การใหค้ วามหมายของคำ� และรปู แบบ
ในการจัดทำ� ดังนี้ (Davis-Kahl, 2017, pp. 517-522)
1.1 หลักฐานความน่าเช่ือถือ (authority) การจดั ทำ� พจนานกุ รมและศพั ทบ์ ญั ญตั เิ ปน็ งานทตี่ อ้ ง
อาศัยผู้จัดท�ำที่มีความช�ำนาญและประสบการณ์ การเลือกพจนานุกรมทั่วไปและพจนานุกรมเฉพาะวิชา
จึงควรพิจารณาคัดเลือกพจนานุกรมที่จัดท�ำโดยผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์ด้านภาษาเป็นอย่างดี
สำ� นกั พมิ พท์ มี่ ชี อ่ื เสยี งในการจดั ทำ� พจนานกุ รม ไดแ้ ก่ Merriam-Webster, Oxford University Press,
Random House, McGraw Hill เปน็ ตน้ สว่ นของประเทศไทยนนั้ หนว่ ยงานทไี่ ดร้ บั ความเชอื่ ถอื ในการ
จัดท�ำพจนานุกรม คือ ราชบัณฑิตยสถาน นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานเอกชน สมาคม บุคคล ที่เก่ียวข้อง
และเป็นผ้เู ชยี่ วชาญที่มคี วามรู้ความสามารถในการจดั ท�ำอกี ดว้ ย
1.2 ขอบเขตเน้ือหา (scope) พจิ ารณาถงึ ความครอบคลมุ จำ� นวนคำ� ศพั ทห์ รอื รายการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
นอกจากนี้ ยงั รวมถงึ ลกั ษณะพเิ ศษของพจนานกุ รมนน้ั ๆ เชน่ คำ� สแลง ภาษาถนิ่ คำ� ศพั ทท์ เ่ี ลกิ ใช้ คำ� ศพั ท์
ทางวิทยาศาสตร์และศัพท์ทางเทคนิคต่างๆ ส่วนใหญ่มักจัดเรียงค�ำศัพท์ตามล�ำดับอักษร ลักษณะของ
ค�ำอธิบายครอบคลมุ ความหมาย ชนิดของค�ำ วธิ กี ารอา่ น ประวตั ขิ องคำ� ฯลฯ
1.3 ความถกู ตอ้ งของเนอื้ หา (accuracy) พจิ ารณาจากการสะกดคำ� และการใหค้ วามหมายของคำ�
การตรวจสอบความถูกต้องของการสะกดค�ำสามารถตรวจสอบได้จากการปรับปรุงค�ำศัพท์ที่ใช้ให้ทันสมัย
เชน่ เดมิ ใชค้ �ำวา่ “on-line” ปจั จบุ นั ใช้ “online” สว่ นการใหค้ วามหมายของค�ำนนั้ ตอ้ งชดั เจนไมก่ �ำกวม
นอกจากนี้ ควรยกตวั อยา่ งประกอบการอธบิ ายคำ� ศพั ท์ เชน่ รปู ภาพ ตวั อยา่ งประโยค ฯลฯ เพอื่ ชว่ ยเสรมิ
ความเข้าใจความหมายของค�ำไดม้ ากยงิ่ ขน้ึ
1.4 ความทนั สมยั ของเนอื้ หา (currency) การปรบั ปรงุ เนอ้ื หาของพจนานกุ รมเปน็ งานทด่ี ำ� เนนิ การ
อย่างต่อเนื่อง พจนานุกรมควรมีการปรับปรุงเนื้อหาฉบับใหม่ๆ ในการจัดท�ำใหม่แต่ละคร้ังไม่ว่าจะเป็น
ฉบบั พิมพ์ หรอื ฉบบั อเิ ล็กทรอนกิ ส์ จะมีการเปล่ียนแปลงเกดิ ข้นึ มากมายท้ังที่เปน็ คำ� ศัพทใ์ หม่ การแก้ไข
ปรบั ปรงุ ความหมายของคำ� ศพั ท์ และการยกเลกิ การใช้คำ� ศพั ทท์ ่ีไมใ่ ช้แล้ว
1.5 การสะกดคำ� และการอา่ นออกเสยี ง (spelling and pronunciation) พจนานกุ รมทดี่ คี วรชแ้ี นะ
ใหผ้ อู้ า่ นทราบถงึ ทมี่ าของวธิ กี ารสะกดคำ� วา่ คำ� ศพั ทด์ งั กลา่ วเปน็ การสะกดคำ� แบบองั กฤษหรอื อเมรกิ นั เชน่
ค�ำวา่ analyze, analyses หรอื theater, theatre ส่วนการแสดงวธิ กี ารอ่านออกเสียงส�ำหรบั พจนานุกรม
นนั้ มหี ลายวธิ ี สว่ นใหญใ่ ชส้ ญั ลกั ษณแ์ ทนการออกเสยี ง ซง่ึ พจนานกุ รมทงั้ หมดจะใชว้ ธิ ตี ามหลกั สทั ศาสตร์