Page 44 - การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
P. 44

6-34 การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
ใชค้ ำ� ทับศพั ทว์ า่ ซอฟตแ์ วร์ คำ� ว่า hardware มศี พั ท์บัญญตั วิ า่ 1) สว่ นเครอ่ื ง 2) สว่ นอปุ กรณ์ หรอื อาจ
จะใช้คำ� ทบั ศพั ทว์ า่ ฮารด์ แวร ์ (ราชบณั ฑติ ยสภา, 2558) โดยภาพรวมการบญั ญตั ศิ พั ทต์ อ้ งดำ� เนนิ การโดย
หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งต้องเป็นหน่วยงานท่ีได้รับการยอมรับ อาทิ ราชบัณฑิตยสถาน คณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีคณะบุคคลที่มีความรู้
ประสบการณ์ ในสาขาวิชานน้ั ๆ ร่วมกนั พิจารณาบัญญตั ิศพั ท์เพอื่ ก�ำหนดเป็นศพั ท์มาตรฐาน

2. ความส�ำคัญของพจนานุกรมและศัพท์บัญญัติ

       2.1 	ความส�ำคัญของพจนานุกรม พจนานกุ รมมคี วามสำ� คญั ดงั นี้
            2.1.1 	เปน็ แหล่งชว่ ยค้นควา้ ทใ่ี ห้ข้อมูลเกย่ี วกับค�ำในดา้ นตา่ งๆ เชน่ การค้นหาความหมาย

ของคำ� การค้นหาตัวสะกดทถ่ี กู ต้อง วธิ ใี ช้ค�ำ ค�ำเหมอื น คำ� ตรงขา้ ม คำ� ยอ่ คำ� สแลง วธิ อี ่านคำ� ประเภท
หรอื ชนดิ ของคำ� ฯลฯ แสดงลกั ษณะของเครื่องหมายและสัญลกั ษณท์ ใี่ ชแ้ ทนการออกเสียง นอกจากน้ี ยัง
แสดงวธิ ใี ชค้ ำ� เช่น ความเหมาะสมในการใชค้ �ำเพอื่ การเขยี นหรือพูด นอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว
อาจพบขอ้ มลู อน่ื ทีเ่ ป็นประโยชนอ์ ีก ซึ่งอยู่ตอนตน้ หรือตอนทา้ ย เช่น รายชอื่ สถาบันการศึกษา ข้อมลู ทาง
ภมู ิศาสตร์ สัญลกั ษณแ์ ละมาตราตา่ งๆ เป็นต้น

            2.1.2 	เปน็ แหลง่ ชว่ ยคน้ ควา้ ทป่ี ระมวลความรแู้ ละขอ้ มลู ตา่ งๆ ในรปู ของการอธบิ ายความหมาย
ของค�ำศัพท์โดยอาจให้เฉพาะความหมายของค�ำที่ใช้ในปัจจุบัน หรือให้ความหมายหลายความหมายโดย
เรยี งตามลำ� ดบั กอ่ นหลงั ของการใหค้ วามหมาย มกี ารจดั ทำ� หลายรปู แบบทงั้ แบบหลายเลม่ จบ แบบตง้ั โตะ๊
ขนาดพกพา ผู้ใชส้ ามารถค้นคว้าไดง้ ่าย เนอ่ื งจากเนอื้ หาสาระจัดเรยี งอย่างเป็นระบบ ซงึ่ ส่วนใหญม่ ักจัด
เรยี งตามลำ� ดบั อกั ษรของคำ� ศพั ท์ และจดั ทำ� ในรปู ของพจนานกุ รมออนไลนท์ เี่ ออื้ ใหผ้ ใู้ ชไ้ ดเ้ ขา้ ถงึ สารสนเทศ
ที่ตอ้ งการไดอ้ ยา่ งรวดเรว็

       2.2 	ความส�ำคัญของศัพท์บัญญัติ ศัพทบ์ ัญญตั ิมีความสำ� คัญ ดงั นี้
            2.2.1 	เป็นแหล่งช่วยค้นคว้าที่ให้ข้อมูลเก่ียวกับค�ำศัพท์ที่เป็นมาตรฐานท่ีสามารถใช้แทน

ค�ำศัพท์ต่างๆ ได้ เนื่องจากปัจจุบันมีการน�ำค�ำศัพท์ของต่างประเทศมาใช้เป็นจ�ำนวนมาก จึงเกิดความ
หลากหลายของการเรยี กชอื่ คำ� ในภาษาไทย ศพั ทบ์ ญั ญตั เิ ปน็ คำ� ศพั ทท์ กี่ ำ� หนดใหใ้ ชโ้ ดยหนว่ ยงาน สมาคม
วชิ าการ สมาคมวชิ าชพี

            2.2.2 	ชว่ ยในการเขยี นเอกสารทเี่ ปน็ ทางการ เอกสารราชการ และงานวชิ าการ เชน่ การแตง่
ตำ� รา การเขยี นบทความ เอกสารทางวชิ าการ ฯลฯ เปน็ ไปอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั เกณฑใ์ นเรอื่ งของการใชค้ ำ�
การสะกดคำ� และการทับศพั ท์

            2.2.3 	ช่วยในการควบคมุ ค�ำศัพท์ทางวิชาการใหเ้ ป็นมาตรฐานเดยี วกัน

3. 	ประเภทของพจนานุกรมและศัพท์บัญญัติ

       การจ�ำแนกประเภทของพจนานุกรมและศัพท์บัญญัติสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่
พจนานกุ รมภาษา พจนานกุ รมเฉพาะดา้ น และพจนานกุ รมเฉพาะวชิ า (Katz, 2002; Davis-Kahl, 2017,
pp. 522-531)
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49