Page 48 - การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
P. 48
6-38 การบรกิ ารและเผยแพร่สารสนเทศ
แบบงา่ ยๆ หากเป็นพจนานกุ รมออนไลน์ ผ้ใู ชจ้ ะไดป้ ระโยชน์ด้านการฟงั เสียง เนอ่ื งจากจะไดย้ นิ การอา่ น
ออกเสยี งของค�ำศพั ทแ์ ต่ละค�ำ เช่น The American Heritage Dictionary of the English Language
1.6 การให้ความหมายของค�ำ (definition) โดยปกตพิ จนานุกรมจะให้ความหมายท่ีส�ำคัญทีส่ ุด
ของค�ำศัพท์เป็นอันดับแรก ยกเว้นพจนานุกรมบางรายการท่ีให้สารสนเทศเก่ียวกับค�ำศัพท์เก่าๆ หรือ
คำ� ศัพทด์ ้งั เดิม พจนานุกรมบางรายการใหค้ วามหมายของคำ� ตามลำ� ดับก่อนหลงั เช่น ให้ความหมายของ
ค�ำท่ีเกิดข้ึนมาก่อนเป็นอันดับแรก หรือให้ความหมายของค�ำท่ีเกิดขึ้นล่าสุดเป็นอันดับแรก การน�ำเสนอ
ข้อมูลท่ีหลากหลายความหมาย อาจใช้ตัวเลขล�ำดับข้อก�ำกับความหมาย นอกจากนี้ พจนานุกรม
ขนาดใหญ่ท้ังหมดจะนำ� เสนอข้อมูลโดยบอกให้ทราบถงึ รากศัพท์ (etymologies) ของคำ� ศัพท์น้ันๆ
1.7 รูปแบบในการจัดท�ำ (format) ปัจจุบันมีการจัดท�ำพจนานุกรมทั้งในรูปของฉบับพิมพ์และ
ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ในกรณีท่ีเป็นฉบับพิมพ์ควรพิจารณาเกี่ยวกับขนาดของตัวอักษร การจัดวางข้อความ
แต่ละหน้า และความแข็งแรงทนทานของตัวเล่ม เนื่องจากเป็นส่ืออ้างอิงที่มีปริมาณการใช้มาก หากเป็น
พจนานุกรมออนไลน์ ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ท้ังยังมีส่ือประกอบซึ่งอาจจะเป็น
ภาพน่ิงหรือภาพเคลื่อนไหว ลักษณะเด่นอีกประการหน่ึงคือ เสียงประกอบซ่ึงอาจเป็นค�ำอ่านออกเสียง
ดังน้ันจึงควรพิจารณาว่า การใช้และการเข้าถึงข้อมูลมีความยากง่ายมากน้อยเพียงใด ภาพประกอบมี
ความสมั พนั ธแ์ ละสอดคลอ้ งกบั เนอื้ หามากนอ้ ยเพยี งใด ความถกู ตอ้ งของการอา่ นออกเสยี งและความชดั เจน
ของเสยี ง ปริมาณค�ำศัพทท์ ่ีมเี สียงประกอบมมี ากนอ้ ยเพยี งใด
2. การใช้พจนานุกรมและศัพท์บัญญัติ
การค้นหาสารสนเทศที่ต้องการจากพจนานุกรมและศัพท์บัญญัติให้ได้ค�ำตอบอย่างรวดเร็วและ
มีประสิทธภิ าพนน้ั ผ้ใู ชค้ วรพิจารณาถึงประเด็นสำ� คญั ตา่ งๆ ดังน้ี
2.1 การค้นหาความหมายของค�ำ ค�ำถามท่ีต้องการค�ำตอบจากพจนานุกรมส่วนใหญ่จะเป็น
การคน้ หาความหมายของคำ� วธิ สี ะกดคำ� ทถี่ กู ตอ้ ง วธิ อี า่ นคำ� วธิ ใี ชค้ ำ� ประวตั หิ รอื ทมี่ าของคำ� ฯลฯ ตวั อยา่ ง
เชน่ ตอ้ งการทราบความหมาย รากศัพท์ และประวตั ขิ องค�ำวา่ “encyclopedia” ค�ำว่า “ขมุกขมัว” อ่าน
อยา่ งไรจงึ จะถูกต้อง คำ� ว่า “ดรรชนี” หรือ “ดัชน”ี คำ� ใดสะกดได้ถูกต้อง เป็นต้น
เมอ่ื ผใู้ ชม้ ปี ระเดน็ คำ� ถามและทราบความตอ้ งการของตนวา่ ตอ้ งการคำ� ตอบในลกั ษณะใด หลงั จากนน้ั
จึงเลือกใช้พจนานุกรมใหถ้ กู ต้องตรงกบั ลกั ษณะคำ� ถามทต่ี อ้ งการค้น เช่น คำ� วา่ “ขมกุ ขมวั ” อ่านอยา่ งไร
จงึ จะถกู ต้อง ค�ำวา่ “ดรรชน”ี หรอื “ดชั น”ี ค�ำใดสะกดได้ถกู ต้อง ควรเลือกใช้พจนานกุ รมทั่วไป ต้องการ
ทราบความหมาย รากศพั ท์ และประวตั ขิ องคำ� วา่ “encyclopedia” ควรเลอื กใชพ้ จนานกุ รมฉบบั สมบรู ณ์
ต้องการการเทียบคำ� ศพั ท์ในภาษาต่างๆ ควรเลือกใช้พจนานุกรมสองภาษา หรอื พจนานุกรมหลายภาษา
หากตอ้ งการคน้ หาคำ� ศพั ทเ์ ฉพาะวชิ าหรอื เฉพาะดา้ น กค็ วรเลอื กใชพ้ จนานกุ รมเฉพาะวชิ าใดวชิ าหนง่ึ หรอื
พจนานกุ รมเฉพาะดา้ น ตามลำ� ดบั หรอื เลอื กคน้ หาขอ้ มลู จากพจนานกุ รมออนไลน์ เปน็ ตน้ โดยผใู้ ชส้ ามารถ
ใชค้ ำ� ศพั ทน์ ้นั เปน็ คำ� คน้ ได้ทันที หรอื อาจใชค้ วามหมายของคำ� ศัพท์โยงไปส่คู ำ� ศัพท์ที่ตอ้ งการกไ็ ด้
2.2 เครื่องมือช่วยค้น การค้นข้อมูลจากพจนานุกรมโดยอาศัยเครื่องมือช่วยค้นสามารถจ�ำแนก
ได้ 2 ลกั ษณะ คอื