Page 50 - การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
P. 50
6-40 การบรกิ ารและเผยแพร่สารสนเทศ
ภาพที่ 6.21 OED Online
ท่ีมา: https://en.oxforddictionaries.com/
กิจกรรม 6.2.2
การประเมินแหล่งช่วยคน้ ควา้ ประเภทพจนานกุ รมและศพั ทบ์ ญั ญัติ มีหลักเกณฑใ์ นการพิจารณา
อยา่ งไร
แนวตอบกิจกรรม 6.2.2
การประเมินแหลง่ ชว่ ยคน้ คว้าประเภทพจนานกุ รมและศัพทบ์ ญั ญัติ สามารถพจิ ารณาจากเกณฑ์
ต่างๆ ไดแ้ ก่
1. หลักฐานความน่าเช่ือถือ การจัดท�ำพจนานุกรมและศัพท์บัญญัติเป็นงานที่ต้องอาศัยผู้จัดท�ำ
ท่ีมีความช�ำนาญและประสบการณ์ จึงควรพิจารณาคัดเลือกพจนานุกรมและศัพท์บัญญัติท่ีจัดท�ำโดย
ผทู้ รงคณุ วุฒแิ ละมีประสบการณ์ดา้ นภาษา หรือสำ� นกั พิมพท์ มี่ ชี ่ือเสยี งในการจดั ทำ�
2. ขอบเขตเนอ้ื หา พจิ ารณาถงึ ความครอบคลมุ จำ� นวนคำ� ศพั ทห์ รอื รายการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง นอกจากนี้
ยังรวมถึงลักษณะพิเศษของพจนานุกรมน้ันๆ เช่น ค�ำสแลง ภาษาถ่ิน ค�ำศัพท์ท่ีเลิกใช้ ค�ำศัพท์ทาง
วทิ ยาศาสตรแ์ ละศพั ทท์ างเทคนคิ ตา่ งๆ สว่ นใหญม่ กั จดั เรยี งคำ� ศพั ทต์ ามลำ� ดบั อกั ษร ลกั ษณะของคำ� อธบิ าย
ครอบคลมุ ความหมาย ชนดิ ของค�ำ วธิ ีการอา่ น ประวตั ิของคำ� ฯลฯ
3. ความถูกต้องของเน้ือหา พิจารณาจากการสะกดคำ� และการให้ความหมายของคำ�
4. ความทันสมัยของเน้ือหา พจนานกุ รมควรมกี ารปรับปรุงเนื้อหาฉบบั ใหมๆ่ ในการจัดทำ� ใหม่
แตล่ ะครัง้ ไมว่ ่าจะเปน็ ฉบบั พิมพ์ หรอื ฉบับออนไลน์
5. การสะกดคำ� และการอ่านออกเสียง พจนานกุ รมทดี่ คี วรชแ้ี นะใหผ้ อู้ า่ นทราบถงึ ทมี่ าของวธิ กี าร
สะกดคำ� สว่ นการแสดงวธิ กี ารอา่ นออกเสยี งสว่ นใหญใ่ ชส้ ญั ลกั ษณแ์ ทนการออกเสยี ง หากเปน็ พจนานกุ รม
ออนไลน์ ผใู้ ชจ้ ะไดป้ ระโยชน์ด้านการฟงั เสียง