Page 18 - พื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
P. 18

14-8 พืน้ ฐานทางวิศวกรรมเครอ่ื งกลส�ำหรับเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม
ประการคือ มีความหนาแนน่ นอ้ ย น�้ำหนักเบาและมคี วามแขง็ แรงต่อนำ�้ หนักสงู ซึง่ ความแขง็ แรงดงั กลา่ ว
มีมากกว่าเหล็กกล้า มีความเหนียวมาก สามารถขึ้นรูปด้วยกรรมวิธีต่างๆ ได้ง่าย และมีจุดหลอมตัวต�่ำ
หลอ่ หลอมไดง้ า่ ย คา่ การน�ำไฟฟ้าเป็นรอ้ ยละ 62 IACS (International Anneal Copper Standard)
ซ่ึงไมส่ ูงมาก เมือ่ เทียบกับเงนิ และทอง ซ่งึ เป็นโลหะหนกั แตเ่ น่อื งจากอะลมู ิเนียมมนี ำ้� หนกั เบา จึงนิยมใช้
เปน็ ตวั นำ� ไฟฟา้ ในกรณที คี่ ดิ ถงึ เรอ่ื งนำ้� หนกั เบาเปน็ เรอื่ งสำ� คญั เปน็ โลหะทไ่ี มเ่ ปน็ พษิ ตอ่ รา่ งกายและมคี า่
การนำ� ความร้อนสูง จึงใช้ทำ� ภาชะหงุ ต้มอาหาร เปน็ โลหะทีไ่ มเ่ ป็นแม่เหล็กไมเ่ กดิ การสปารก์ และถ้าเป็น
อะลูมิเนียมบริสุทธ์ิ มีดัชนีการสะท้อนแสงกลับสูงมาก ทนทานต่อการผุกร่อน แต่กลับไม่ทนทานต่อการ
กัดกร่อนของกรดและด่างท่ัวๆ ไป อีกท้ังยังมีราคาไม่แพงซื้อหาได้ง่าย อะลูมิเนียมสามารถน�ำไปใช้เป็น
ชนิ้ สว่ นเครอ่ื งจกั รกล เครอื่ งบนิ จรวดและขปี นาวธุ ท�ำภาชนะหงุ ตม้ อาหาร ฝาครอบอปุ กรณไ์ ฟฟา้ หลงั คา
รถโดยสารแผน่ สะทอ้ นแสงในการถา่ ยรปู จานสะทอ้ นแสงในโคมไฟฟา้ ไฟหนา้ รถยนต์ ลวดสายไฟฟา้ แรงสงู
ท�ำเครอื่ งใช้เช่นกระปอ๋ ง ถงั หลอดยาหรอื ท�ำเฟอรน์ ิจอร์ท�ำวสั ดุงานกอ่ สร้าง เชน่ ทอ่ บนั ได หน้าต่างวสั ดุ
ทใ่ี ชห้ อ่ หมุ้ สงิ่ ของ (Aluminium Foil) ใชเ้ ปน็ วสั ดผุ สมลงในโลหะ เชน่ ตวั เรอื นเสอื้ สบู เครอื่ งยนต์ เปน็ ตน้

       2. 	ท่อพลาสติก ท่อพลาสติกนับได้ว่าเป็นท่ออโลหะท่ีใช้งานในอุตสาหกรรมมากที่สุด เนื่องจาก
มีราคาไม่แพงนัก น�้ำหนักเบา ติดต้ังง่าย ไม่มีปัญหาเรื่องการเกิดการผุกร่อน และกัดกร่อนเหมือนโลหะ
มสี ภาพตา้ นทานเคมสี งู แตค่ วามสามารถในการตา้ นทานอณุ หภมู แิ ละความดนั นอ้ ยกวา่ โลหะ เราสามารถ
แบ่งพลาสตกิ ออกได้เปน็ 2 ประเภทใหญ่ๆ คอื

            2.1 	ชนิดเทอร์โมพลาสติก (thermoplastic) เป็นเรซินที่มีคุณสมบัติท่ีสามารถอ่อนตัวได้
เม่ือไดร้ บั ความร้อนและแขง็ ตวั เม่ือได้รับความเยน็ โดยสามารถท�ำซ้�ำๆ กันโดยไมเ่ กดิ การเปลี่ยนแปลงจงึ
สามารถนำ� กลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ วสั ดขุ องทอ่ พลาสตกิ ประเภทน้ี คอื โพลไิ วนลิ คลอไรด์ (PVC) คลอรเี นตโพล-ิ
ไวนิลคลอไรด์ (CPVC) โพลเิ อทิลีน (PE) โพลโิ พรพลิ นี (PP) โพลิบวิ ทิลนี (PB) อะครีโลโนตริลบิวตา-
ไดอีนสไตรนี (ABS) ฟลอู อโรคารบ์ อนต่างๆ เป็นต้น

            2.2 	ชนดิ เทอรโ์ มเซท็ (thermoset) เปน็ พลาสตกิ แขง็ ทม่ี คี วามแขง็ แรงไมส่ ามารถยดื หยนุ่ ได้
และเม่ือบ่มตัวเสร็จแล้วหลังการผลิตไม่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้อีก ใช้ประโยชน์ในด้านเสริมความ
แขง็ แรงได้ เปน็ พลาสตกิ ทม่ี สี มบตั พิ เิ ศษ คอื ทนทานตอ่ การเปลย่ี นแปลงอณุ หภมู แิ ละทนปฏกิ ริ ยิ าเคมไี ดด้ ี
เกดิ คราบและรอยเปอ้ื นไดย้ าก คงรปู หลงั การผา่ นความรอ้ นหรอื แรงดนั เพยี งครง้ั เดยี ว เมอ่ื เยน็ ลงจะแขง็ มาก
ทนความรอ้ นและความดนั ไมอ่ อ่ นตวั แตถ่ า้ อณุ หภมู สิ งู กจ็ ะแตกและไหมเ้ ปน็ ขเ้ี ถา้ สดี ำ� พลาสตกิ ประเภทนี้
โมเลกลุ จะเชือ่ มโยงกนั เปน็ ร่างแหจบั กนั แนน่ แรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งโมเลกุลแข็งแรงมาก จึงไมส่ ามารถน�ำ
มาหลอมเหลวได้ กล่าวคือ เกิดการเชื่อมต่อข้ามไปมาระหว่างสายโซ่ของโมเลกุลของพอลิเมอร์ (cross
linking among polymer chains) เหตนุ หี้ ลังจากพลาสตกิ เย็นจนแขง็ ตวั แลว้ จะไมส่ ามารถทำ� ใหอ้ ่อน
ได้อีกโดยใช้ความร้อน หากแต่จะสลายตัวทันทีที่อุณหภูมิสูงถึงระดับ การท�ำพลาสติกชนิดนี้ให้เป็น
รปู ลักษณะตา่ งๆ ต้องใชค้ วามรอ้ นสูง และโดยมากต้องการแรงอัดดว้ ย
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23