Page 100 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 100

10-90 ภาษาถ่ินและวรรณกรรมทอ้ งถิน่ ไทย

      ภาพที่ 10.24 อำ�มาตย์เอกพระยาวจีสัตยารักษ์ (ขำ� ศรียาภัย) เจ้าเมืองไชยา ผู้สร้างศาลาเก้าห้อง

ที่มา:	 http://martialartthailand.blogspot.com/2013/08/martial-arts-thailand.htmlสืบค้นเม่ือ 15 มีนาคม 2561.

3. 	ประวัติศาสตร์เหตุการณ์

       เหตกุ ารณส์ ำ� คญั ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในภาคใตซ้ ง่ึ เปน็ เหตกุ ารณป์ ระวตั ศิ าสตรแ์ ละมวี รรณกรรมทอ้ งถน่ิ บนั ทกึ
เอาไว้ ในท่ีนี้จะกล่าวเพียง 2 เหตกุ ารณ์ คอื การรบทเี่ มืองปัตตานี และเหตุการณ์สนึ ามิ

       เมอื งปตั ตานเี ปน็ เมอื งเกา่ มาแตโ่ บราณและมเี จา้ เมอื งปกครอง เปน็ เรอ่ื งปกตขิ องเมอื งสมยั โบราณ
ที่ต้องมีการสู่รับระหว่างเมือง ผู้เป็นทหารออกรบก็มักเป็นชาย เพลงกล่อมเด็กภาคใต้บทหนึ่งกล่าวไว้ว่า
ผู้ชายต้องออกไปรบ แต่ก่อนไปก็มีการอวยพรให้โชคดีมีชัยกลับมา ดังเพลงกล่อมเด็กว่า (วิมล ด�ำศรี,
2539ข, น. 68)

		  	 น้องนอนเหอ	 นอนให้หลับหลับ
		  พ่อไปขัดตาทัพ	                      อยู่เมืองตาหนี
		  พ่อจงมีโชคชัย	                      พ่อจงไปได้ดี
		  พ่อไปขัดตาทัพเมืองตาหนี	 ก่ีปีพ่อมาเล่าเหอ
		  (เมืองตาหนี = เมืองปัตตานี, เล่า = อีก)

       เหตกุ ารณ์สึนามิ เมื่อวนั ที่ 26 ธันวาคม 2547 สร้างความสญู เสยี แก่ชวี ติ และทรัพย์ของผูค้ นเปน็
จ�ำนวนมาก ทง้ั ชาวไทยและชาวต่างประเทศ สรา้ งความวิปโยคเศร้าโศกคร้ังย่งิ ใหญ่จนไมอ่ าจจะลมื ได้แม้
เวลาจะผ่านไปกี่ปีก็ตาม ด้วยความสะเทือนใจดังกล่าวหนังตะลุงหญิงจารึก เจริญศิลป์ (https://www.
youtube.com. สืบคน้ เม่อื วันที่ 7 มนี าคม 2561) เรียงร้อยบทหนงั ตะลุงซึ่งเป็นวรรณกรรมท้องถ่นิ ภาคใต้
บนั ทึกเหตกุ ารณค์ ร้ังนน้ั ไวด้ ังน้ี
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105