Page 92 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 92

8-82 ภาษาถ่ินและวรรณกรรมท้องถนิ่ ไทย

            พื้นเวียง เป็นเหตกุ ารณใ์ นสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์ เนอ้ื หากลา่ วถึงความเหน็
อกเหน็ ใจเจ้าอนุวงศ์ทต่ี อ้ งการปลดปลอ่ ยอาณาจกั รล้านช้างใหเ้ ป็นอสิ ระจากศักดนิ าสยามจากการถกู กดขี่
ตามหัวเมืองอีสานและล้านช้าง เจ้าอนุวงศ์จึงรวบรวมพลลุกขึ้นมาต่อสู้โดยได้รับความร่วมมืออันดีจาก
เจา้ เมืองตา่ งๆ ในภาคอีสานเป็นส่วนมาก

            พ้นื เมืองเวียงจันทน์ เปน็ ต�ำนานทเ่ี ล่าถงึ ประวตั ิการสร้างเมอื งเวียงจันทน์และศรโี คตรบูรณ์
หรือเมืองนครพนมในปัจจบุ ัน

            พน้ื เมอื งอบุ ลราชธานี เปน็ วรรณกรรมทก่ี ลา่ วถงึ เรอื่ งราวการเดนิ ทางของกองครวั ของพระวอ
พระตาท่ีเดินทางลี้ภัยสงครามกับเจ้าสิริบุญสารแห่งเมืองเวียงจันทน์ การต่อสู้ของพระวอพระตา การต้ัง
รกรากอยู่ท่ีดอนมดแดง และการขอความช่วยเหลือจากสมเดจ็ พระเจา้ ตากสิน จนถึงเหตกุ ารณเ์ จ้าประทุม
วรราชขึน้ เป็นเจ้าเมอื งอบุ ลราชธานี

            ตำ� นานอรุ งั คธาตุ หรอื อรุ งั คนทิ าน เปน็ ตำ� นานทม่ี เี รอ่ื งราวกลา่ วถงึ ความเปน็ มาของสถานท่ี
และบ้านเมืองในบริเวณภาคอีสานและภูมิภาคใกล้เคียง และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของบ้านเมือง
โดยมีศูนย์กลางอยู่ท่ีภูก�ำพร้า (ดอยกปณคีรี) ซ่ึงเป็นที่ตั้งเจดีย์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุส่วนที่เป็น
พระอรุ งั คธาตหุ รือกระดกู หนา้ อกของพระพทุ ธเจา้ ซงึ่ ก็คือพระธาตุพนมในปจั จุบัน

            ในที่น้ีจะยกตัวอย่างวรรณกรรมท่ีส่ือให้เห็นประวัติศาสตร์เรื่องพื้นเมืองอุบลราชธานี เพื่อ
เปน็ ตวั อยา่ งการนำ� เสนอเนอื้ เรอื่ งทเี่ กยี่ วกบั ประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถน่ิ ตอนทกี่ ลา่ วถงึ พระตาทเ่ี ปน็ ผนู้ ำ� ในการนำ�
พาผู้คนมาสร้างเมืองอุบล ดงั ขอ้ ความวา่

บัดนี้	 จักกล่าวปฐมเหตุเค้า	          ของพระตานายหมู่
	 เป็นผู้พาไพร่น้อย	                  มาสร้างสืบเมือง
	 เมืองอุบลน้ี	                       คนเวียงจันทน์เกี้ยงอ่อยห่อย
	 เป็นไพร่น้อย	                       ตามบ้านเขตแขวง
	 พระตามีเดชกล้า	                     เขาย้องว่าดี
	 เป็นตาแสง	                          ว่าการกองนอก
	 เอาการให้	                          องค์ไทธิราช
	 ตุ้มไพร่น้อย	                       น�ำขึ้นซ่อยเวียง
	 พระก็สถิตแห่งห้อง	                  หินโงมบ้านใหญ่
	 มีเดชกล้า	                          คนย้านทั่วแดน
		                                    (มานติ ย์ โศกค้อ, 2558, น. 179)

(เกีย้ งอ่อยหอ่ ย = หมดไมม่ ีเหลือ	 ย้อง = ยกยอ่ ง/ชมเชย	  ตาแสง = ก�ำนัน/ตำ� บล
ซ่อย = ช่วย	                          ยา้ น = กลวั )
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96