Page 91 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 91

วรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคอสี าน 8-81
แนวตอบกิจกรรม 8.3.3

       1. 	เพราะชาวอีสานให้ความส�ำคัญกับเร่ืองขวัญหรือจิตใจมาก วิถีการด�ำเนินชีวิตจึงมักจะมีการ
สขู่ วญั ควบคกู่ นั ไปเสมอเพอื่ เรยี กพลงั ทางจติ ใจอนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ ขวญั หรอื กำ� ลงั ใจดขี นึ้ เปน็ พธิ กี รรมทสี่ ำ� คญั
ของคนอีสานที่ยังฝังแน่นอยู่ในสังคมอีสานและยังคงสืบทอดมาจนถึงปัจจุบันซึ่งเป็นอัตลักษณ์ท่ีโดดเด่น
ของภาคอสี าน การประกอบพธิ กี รรมแตล่ ะครงั้ ทำ� ใหส้ มาชกิ ในสงั คมรสู้ กึ อบอนุ่ ชว่ ยสรา้ งความรสู้ กึ “ความ
เป็นพวกเดียวกัน” มีญาติพ่ีน้องมาร่วมยินดีในวาระโอกาสต่างๆ ที่บุคคลนั้นๆ ได้เปลี่ยนผ่านในชีวิต
มีกำ� ลงั ใจในการดำ� เนนิ ชีวิตตอ่ ไป

       2. 1) พธิ ีสขู่ วัญเด็ก 2) พิธสี ู่ขวญั นาค 3) พธิ ีสู่ขวญั ข้ึนบา้ นใหม่ 4) พธิ สี ู่ขวญั พระสงฆ์ 5) พธิ ี
ส่ขู วัญข้าว

เรื่องท่ี 8.3.4
ประวัติศาสตร์

       การรับรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นอีสานนอกเหนือจากเอกสารท่ีมีการบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์
โดยเฉพาะแล้ว วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ อสี านก็เปน็ แหล่งข้อมูลอีกแหลง่ หนึง่ ทเี่ ป็นเครอื่ งมือในการบันทึกเรื่อง
ราว ประวตั ิศาสตร์ของทอ้ งถ่นิ ดว้ ย ดังทีป่ รากฏใหเ้ หน็ ผ่านกลอนลำ� ประวัติศาสตรเ์ มอื งหรอื สถานที่ตา่ งๆ
ที่พบได้มากมายในภาคอีสาน เช่น กลอนล�ำประวัติเวียงจันทน์ กลอนล�ำประวัติพระธาตุพนม กลอนล�ำ
ประวัตศิ รโี คตร กลอนล�ำประวัติขอนแก่น กลอนลำ� ประวตั ิเมืองอุบลฯ เป็นตน้

       นอกจากน้ีวรรณกรรมนิทานหรือต�ำนานประเภทประวัติศาสตร์ก็เป็นอีกส่ิงหนึ่งที่มีการบันทึก
เรอื่ งราวทางประวตั ศิ าสตร์ หรอื มเี คา้ โครงเรอื่ งทส่ี นั นษิ ฐานวา่ นา่ จะเปน็ เรอื่ งจรงิ ทางประวตั ศิ าสตรด์ ว้ ย ซง่ึ
วรรณกรรมประวัตศิ าสตร หรือเรียกว่า “พน้ื สบื ” นม้ี กั จะเปน็ เรอ่ื งเกี่ยวกบั ประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถน่ิ ประวัติ
สถานที่ส�ำคัญ หรือประวัติวีรบุรุษของท้องถิ่น ที่มีความเก่ียวข้องกับคติความเช่ือและภูมินามสถานท่ีใน
ทอ้ งถน่ิ เชน ทา วฮงุ ทา วเจอื ง พนื้ ขนุ บรม พน้ื เวยี งจนั ทน์ พน้ื เมอื งอบุ ล ตำ� นานอรุ งั คธาตุ หรอื อรุ งั คนทิ าน
(ตำ� นานพระธาตพุ นม) กอ่ งขา้ วนอ้ ยฆา่ แม่ เปน็ ตน แตว่ รรณกรรมทอ้ งถน่ิ ประเภทประวตั ศิ าสตรน์ น้ั คอ่ นขา้ ง
จะมีจ�ำนวนไม่มากนัก เพราะวรรณกรรมท้องถ่ินมักเจริญรุ่งเรืองในชุมชนชาวบ้านและวัด ดังนั้น การให้
ความสำ� คญั หรอื ใหค้ วามสนใจเรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตรจ์ งึ นอ้ ยกวา่ เรอื่ งราวทางพทุ ธศาสนา ซงึ่ วรรณกรรม
ทอ้ งถ่นิ ประเภทประวัติศาสตรอ์ ีสานที่ส�ำคญั เช่น

            ทา้ วฮงุ่ ทา้ วเจอื ง หรอื ทา้ วบาเจอื ง มเี นอ้ื หากลา่ วถงึ เรอ่ื งราวการตอ่ สขู้ องทา้ วฮงุ่ หรอื ทา้ วบาเจอื ง
เพอ่ื จะรวบรวมบา้ นเมอื งและขยายอาณาเขต แผแ่ สนยานภุ าพครอบคลมุ ดนิ แดนกวา้ งใหญม่ ากในภมู ภิ าค
ลุม่ นำ�้ โขงให้เป็นปึกแผ่น
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96