Page 46 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 46
2-36 การวจิ ยั เบือ้ งตน้ ทางสารสนเทศศาสตร์
ตอ่ มาพบวา่ ขอ้ ความดังกลา่ วปรากฏในบทความ เร่อื ง “การเตรียมความพร้อมของห้องสมดุ เพ่อื
เขา้ ส่ปู ระฃาคมอาเซียน” ตพี ิมพ์เมอ่ื ปี 2555 ดงั นี้
การเขา้ รว่ มประชาคมอาเซยี น นบั เปน็ โอกาสในการทจี่ ะขยายขอบเขตการเขา้ ถงึ ทรพั ยากร
สารสนเทศนอกกรอบของห้องสมุด สามารถแลกเปลี่ยนและแบ่งปันทรัพยากรในกลุ่มประชาคม
อาเซียนได้มากย่ิงขึ้น และยังเป็นการเพิ่มการเข้าถึงจากประชาคมโลกท่ีสนใจในคอลเล็กชันของ
อาเซยี น หอ้ งสมดุ ในฐานะแหลง่ ความรู้ จะมโี อกาสทง้ั ในการเผยแพรค่ วามรเู้ กยี่ วกบั ประเทศไทยและ
ประเทศอาเซียนให้กับผู้สนใจ ในขณะเดียวกันก็จะได้เพ่ิมพูนความรู้ความเข้าใจในเร่ือง ประชาคม
อาเซียนใหก้ บั ทุกภาคสว่ น เพื่อพรอ้ มรบั ความเปลย่ี นแปลงที่จะเกิดขนึ้
การกระท�ำของนาย ก. จัดเปน็ ลอกเลียนวรรณกรรมประเภทใด เพราะเหตุใด
แนวตอบกิจกรรม 2.2.2
1. นักวจิ ัยควรใช้ความรูท้ างวิชาการและวิชาชพี เพ่ือการคน้ ควา้ อย่างมรี ะบบในทกุ ขน้ั กล่าวคอื
กอ่ น ระหวา่ ง และหลงั การดำ� เนนิ การวจิ ยั รวมทง้ั การนำ� เสนอและเผยแพรผ่ ลการวจิ ยั ในชว่ งกอ่ นการวจิ ยั
นักวิจัยควรมีความรู้ความสามารถอย่างเพียงพอในการเขียนโครงการวิจัย มีการอ้างอิงนักวิชาการและ
แหล่งข้อมูลที่น�ำมาใช้ ส�ำหรับในระหว่างการด�ำเนินการวิจัย นักวิจัยควรสร้างเครื่องมือและใช้วิธีการเก็บ
รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและระเบียบวิธีวิจัย และหลังการด�ำเนิน
การวิจยั ผู้วิจยั ควรรายงานผลอยา่ งชัดเจน มขี ้อมลู หรือหลักฐานสนับสนนุ มีการอ้างอิงอย่างถูกตอ้ ง ไม่
น�ำเสนอผลงานวิจัยเร่ืองเดียวกันเพ่ือการตีพิมพ์ซ�้ำซ้อนในหลายแหล่ง มีความรับผิดชอบต่อผลกระทบที่
เกิดจากการน�ำเสนองานสสู่ าธารณะ
2. การกระทำ� ของนาย ก. เป็นการลอกเลยี นวรรณกรรมแบบค�ำตอ่ คำ� (verbatim หรอื word
for word) เพราะเป็นการที่คัดลอกงานผู้อ่ืนมาแบบไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงถ้อยค�ำแต่อย่างใด และไม่มี
การอ้างแหลง่ ทมี่ า เป็นการตดั ปะขอ้ มูลมาโดยตรง