Page 43 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 43

แนวคิดการวจิ ัยทางสารสนเทศศาสตร์ 2-33
ปี 2004 และ 2005 ผลการวิจัยดังกล่าวโด่งดังไปทั่วโลก ต่อมาในปี 2006 ก็ได้มีการค้นพบว่า ผลงาน
ดังกลา่ วเป็นเท็จ (Smith, 2006, p. 232; Bornmann, 2013, pp. 87-88) วู ซกุ หวาง ไดร้ บั การลงโทษ
จำ� คกุ 2 ปี รอลงอาญา และถกู ไลอ่ อกจากมหาวทิ ยาลยั แหง่ ชาตทิ ก่ี รงุ โซล (Seoul National University)

       นอกจากนน้ั ยงั มกี รณขี อง ลคุ ฟาน พารจิ ส์ (Luk Van Parijs) กบั การปลอมแปลงขอ้ มลู การวจิ ยั
ฟาน พาริจส์ อดตี รองศาสตราจารยส์ าขาภมู ิค้มุ กนั วิทยา (immunology) ท่ีสถาบนั เทคโนโลยีแมสซาชู
เซตส์ หรือเอม็ ไอที (Massachusetts Institute of Technology - MIT) ถูกจบั ไดว้ ่าปลอมแปลงข้อมลู
งานวจิ ยั ในปี 2005 ถกู ไลอ่ อกจากเอม็ ไอทแี ละถกู ตดั สทิ ธก์ิ ารทำ� งานวจิ ยั ทไี่ ดร้ บั ทนุ จากรฐั บาลเปน็ ระยะเวลา
5 ปี การจบั การปลอมแปลงขอ้ มลู ไดน้ น้ั เกดิ จากการทผี่ รู้ ว่ มงานในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเดยี วกนั กบั ฟาน พารจิ ส์
ได้ตัง้ ขอ้ สงสยั ว่างานวจิ ัยทีต่ พี ิมพ์หลายเร่ืองท่ตี พี ิมพ์ตงั้ แต่ปี 1997 มขี อ้ มูลทีซ่ ำ้� ซ้อนกนั ทง้ั ยงั มีการสร้าง
ข้อมลู เท็จ (Reich, 2011) การสร้างตวั เลขเทจ็ ปรากฏในรายงานวิจัย เชน่ ผลการวเิ คราะห์การแสดงออก
ของโปรตนี ในเซลล์ โดยใชข้ อ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการทดลองในประชากรเซลลก์ ลมุ่ เดยี วมาอา้ ง เสมอื นวา่ ทำ� การทดลอง
ในเซลลห์ ลากหลายกลมุ่ นอกจากนี้ ยงั มกี ารเผยแพร่รูปภาพในวารสาร Journal of Immunology โดย
อา้ งวา่ เปน็ ผลทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบโปรตนี บซี แี อล-2 (Bcl-2) และเบตา-แอคตนิ (beta-actin) และไดน้ ำ�
รูปภาพชุดเดียวกันน้ีไปใช้ในรายงานวิจัยท่ีตีพิมพ์ในวารสาร Immunity ซึ่งระบุว่ามาจากการทดสอบ
โปรตนี ราส (Ras) และราส-จที พี ี (Ras-GTP) (แฉอดตี นกั วทิ ย์ MIT ปลอมขอ้ มลู งานวจิ ยั สหรฐั ฯ แอบปดิ
(แต่ไม่มดิ ), 2552)

       ในทศวรรษที่ผ่านมา เบงกู เชเซ็น (Bengu Sezen) จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Columbia
University) ได้สร้างและปลอมแปลงข้อมูลการวิจัยถึงขนาดที่สร้างบุคคลและองค์การเท็จข้ึนมารับรอง
อา้ งองิ ผลการวจิ ยั ในปี 2010 Office of Research Integrity ของประเทศสหรัฐอเมริกาตดั สินวา่ เชเซน็
ประพฤตผิ ดิ ทางการวจิ ยั ถงึ 21 กระทง โดยเชเซน็ ปลอมแปลงขอ้ มลู สรา้ งขอ้ มลู เทจ็ และลกั ลอกวรรณกรรม
ในบทความ 3 เรอ่ื ง และดษุ ฎนี พิ นธ์ การกระทำ� ผดิ ของเชเซน็ มตี วั อยา่ ง เชน่ แอบใชอ้ ปุ กรณส์ เปกโตรมเิ ตอร์
และนำ� ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากอปุ กรณม์ าทดลองแกไ้ ขเพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลตามตอ้ งการ ผลจากการกระทำ� ผดิ คอื มหาวทิ ยาลยั
โคลมั เบียตดั สินถอดถอนปริญญาบตั ร (Schulz, 2011)

       3.3 การลอกเลียนวรรณกรรม (plagiarism) หรือในบางคร้ังจะมีการใช้ว่า การโจรกรรมทาง
วรรณกรรม การลักลอกงานวิชาการและวรรณกรรมหรือการคัดลอกผลงานทางวิชาการ เป็นการคัดลอก
หรือขโมยความคิดหรือผลงานของผู้อื่นแล้วน�ำมาเผยแพร่ และอ้างว่าเป็นความคิดหรือผลงานของตนเอง
หรือน�ำเน้ือหาจากแหล่งข้อมูลมาใช้เกือบทั้งหมด โดยดัดแปลงข้อมูลเพียงเล็กน้อย และไม่มีการอ้างถึง
แหล่งข้อมูล หรือการอ้างอิงข้อมูลที่ไม่มีอยู่จริงหรือการสร้างข้อมูลอ้างอิงที่ไม่มีอยู่จริง รวมถึงการน�ำ
ผลงานเดมิ ของตนเองทเ่ี คยเผยแพรม่ าแลว้ และนำ� มาเผยแพรซ่ ำ�้ โดยไมร่ ะบวุ า่ เคยเผยแพรใ่ นแหลง่ อนื่ มาแลว้
ท่ีเรยี กวา่ การลอกเลยี นผลงานตนเอง (self-plagiarism)

       การลอกเลยี นวรรณกรรมเปน็ การลอกคำ� ประโยค เนอื้ หา กระบวนการ หรอื ความคดิ ของบคุ คลอน่ื
ที่อยใู่ นรปู ของตาราง ภาพ แผนภูมิ หรอื สถิติตา่ งๆ อาจเป็นการคดั ลอกคำ� ตอ่ คำ� การลอกเพยี งบางส่วน
การถอดความเนื้อหาสาระ หรอื การสรุปความแลว้ น�ำเสนอให้ดูเสมอื นเปน็ ความคดิ และผลงานของตนเอง
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48