Page 41 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 41

แนวคิดการวจิ ัยทางสารสนเทศศาสตร์ 2-31
ในการวิจัย และให้หมายความรวมถึงการศึกษาทางสังคมศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์
ทเ่ี กยี่ วกบั สุขภาพ (สำ� นักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ, 2562)

       หลกั สากลในการท�ำวิจัยในคน ประกอบดว้ ยหลกั 3 ประการ (ระบบการบรหิ ารงานวิจยั แห่งชาต,ิ
2562) ไดแ้ ก่ หลกั ความเคารพในบุคคล หลกั คณุ ประโยชน์ไม่ก่ออันตราย และหลักความยุตธิ รรม

       2.1		หลักความเคารพในบุคคล (respect for person) คอื การเคารพในศกั ดิ์ศรคี วามเป็นมนษุ ย์
(respect for human dignity) ต้องมีการขอความยินยอมโดยให้ข้อมูลอย่างครบถ้วนแก่อาสาสมัครใน
การวจิ ัย และเคารพตอ่ ความเปน็ สว่ นตวั และรักษาความลับของข้อมูลส่วนตวั ของอาสาสมคั ร เชน่ ในการ
เก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยเก่ียวกับผู้ติดยาเสพติด ผู้วิจัยจัดสถานที่เก็บรวบรวมข้อมูลโดยเฉพาะ
มีมาตรการรักษาความลับของขอ้ มูลโดยไม่ระบุชื่อของอาสาสมคั ร แตเ่ ป็นการทำ� รหสั แทน เปน็ ตน้

       2.2 	หลักคุณประโยชน์ไม่ก่ออันตราย (beneficence) คือ มกี ารประเมินความเสี่ยงหรอื อนั ตราย
ท่ีอาจเกดิ ขึน้ จากการวิจัย ไมว่ า่ จะเปน็ อันตรายต่อรา่ งกาย จติ ใจ เชน่ ความออ่ นล้า การเกดิ ความเครยี ด
ความวิตกกังวล เป็นต้น อันตรายต่อสถานะทางสังคม เช่น การถูกกีดกันทางสังคม เป็นต้น อันตราย
ต่อฐานะทางการเงิน เช่น การเลิกจ้างงาน เป็นต้น อันตรายทางกฎหมาย เช่น การถูกจับกุม เป็นต้น
ส�ำหรับเร่ืองการให้คุณประโยชน์นั้นมีหลายรูปแบบ คือ ประโยชน์ทางร่างกาย เช่น การเข้าร่วมการวิจัย
ช่วยให้อาสาสมัครมีสุขภาพดีขึ้น เป็นต้น ทางด้านจิตใจ เช่น อาสาสมัครจะรู้สึกว่าตนมีคุณค่า เป็นต้น
คณุ ประโยชนท์ ส่ี �ำคญั กค็ อื ทางวชิ าการและสงั คม ทที่ �ำใหไ้ ดร้ บั ความรใู้ หมท่ นี่ �ำไปใชไ้ ดใ้ นวงวชิ าการสาขา
ตา่ งๆ หรือความรทู้ สี่ ามารถชว่ ยแกไ้ ขปญั หาทางสงั คม

       2.3		หลักความยุติธรรม (justice) เนน้ ท่ีการใหค้ วามเป็นธรรมในการเลือกอาสาสมคั รการวิจยั ที่
มเี กณฑก์ ารคดั เขา้ คดั ออกทช่ี ดั เจน เชน่ ระบกุ ลมุ่ อายุ หรอื กลมุ่ อาชพี ของอาสาสมคั ร ไมม่ อี คตใิ นการเลอื ก
และในการจัดกลุ่มอาสาสมัครท่ีมกี ารสุม่ เข้ากลุ่มศกึ ษา เช่น ระบุวธิ ีสมุ่ ว่าใช้การจับสลาก หรอื ใชต้ ารางสมุ่
เปน็ ตน้

       ในการทำ� วิจยั ในคน นักวจิ ยั จะต้องสง่ โครงรา่ งการวจิ ยั (research proposal) ให้คณะกรรมการ
จริยธรรมการวิจัยในคน (Institutional Review Boards - IRBs) ในสถาบนั หรือองคก์ ารท่ีทำ� วิจัย เพือ่
พิจารณาอนุมัติก่อนท�ำการวิจัย การได้รับอนุมัติจะช่วยนักวิจัย ไม่ว่าจะเป็นอาจารย์ นักวิชาการ นิสิต
นกั ศึกษา ในการขอรับทนุ อุดหนุนการวจิ ยั จากแหลง่ ทนุ ภายนอก และการตพี มิ พใ์ นวารสารระดบั ชาตแิ ละ
นานาชาติ

3.	 การประพฤติผิดทางวิจัย (research misconduct)

       การประพฤติผิดทางวิจัยที่ถือว่าเป็นความผิดอย่างรุนแรง คือ การปลอมแปลงข้อมูล การสร้าง
ข้อมูลเท็จหรือการเสกสรรป้ันแตง่ และการลอกเลยี นวรรณกรรม

       3.1		การปลอมแปลงข้อมูล (falsification) คอื การเปลีย่ นแปลง ดดั แปลง หรือปกปิดข้อมูลใน
กระบวนการวจิ ยั หรอื ผลการวจิ ยั ใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ สรปุ ทน่ี กั วจิ ยั ตอ้ งการ เปน็ การสรา้ งขอ้ มลู ขนึ้ โดยมเี จตนา
ทจ่ี ะใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจวา่ เปน็ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการทดลองหรอื จากการเกบ็ รวบรวมงานวจิ ยั (สทุ ธพิ ร จติ ตม์ ติ รภาพ,
2560, น. 14)
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46