Page 44 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 44

2-34 การวจิ ยั เบื้องตน้ ทางสารสนเทศศาสตร์
โดยมไิ ดร้ ะบถุ งึ แหลง่ ทม่ี าของขอ้ เขยี นหรอื ความคดิ นน้ั ดว้ ยวธิ กี ารอา้ งองิ ทสี่ มบรู ณ์ ชดั เจน และเปน็ หลกั สากล
(กัญจนา บณุ ยเกียรติ และประไพพศิ มงคลรัตน์, 2556, น. 9)

       การลอกเลยี นวรรณกรรมมหี ลายประเภท (มานติ ย์ จมุ ปา, 2558; Streefkerk, 2019; University
of Oxford, 2019) จำ� แนกเปน็ ประเภทใหญๆ่ ไดแ้ ก่ การลอกเลยี นแบบคำ� ตอ่ คำ� การลอกเลยี นแบบถอดความ
การลอกเลยี นแบบทไ่ี ม่มกี ารอา้ งองิ การลอกเลยี นแบบนำ� ผลงานของตนเองมาใชใ้ หม่ ดังนี้

            3.3.1	 การลอกเลียนแบบค�ำต่อค�ำ (verbatim หรือ word for word) เปน็ การทค่ี ดั ลอกงาน
ผอู้ น่ื มาแบบไมไ่ ดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงถอ้ ยคำ� โดยไมม่ กี ารอา้ งแหลง่ ทมี่ า หรอื เปน็ การตดั ปะขอ้ มลู มาโดยตรง

            3.3.2	 การลอกเลยี นแบบถอดความ (paraphrasing) คอื การทเี่ ขยี นโดยใชภ้ าษาของตนเอง
อาจเปลย่ี นแปลงถอ้ ยคำ� ปะตดิ ปะตอ่ เนอ้ื หา เปลย่ี นแปลงการลำ� ดบั ความจากตน้ ฉบบั เดมิ การกระทำ� ดงั กลา่ ว
จะจัดเปน็ การลอกเลียนวรรณกรรม หากไมม่ กี ารระบุว่าเป็นการถอดความมาจากงานของผอู้ ื่น

            3.3.3	 การลอกเลยี นแบบทไ่ี มม่ กี ารอา้ งองิ หรอื การอา้ งองิ ไมถ่ กู ตอ้ ง (inaccurate citation)
การอา้ งองิ เปน็ สงิ่ ทจ่ี ำ� เปน็ ในการทำ� ผลงานวชิ าการและงานวจิ ยั ทส่ี ำ� คญั คอื การอา้ งองิ จะตอ้ งระบอุ ยา่ งถกู ตอ้ ง
และครบถ้วน ไม่สร้างรายการอ้างองิ ทีเ่ ปน็ เทจ็ เพ่ือสนับสนนุ งานของของตน

            3.3.4	 การลอกเลียนแบบน�ำผลงานของตนเองมาใช้ใหม่ (self-plagiarism หรือ auto
plagiarism) การลอกเลียนแบบน้ีอาจจะตัง้ ใจหรือไมต่ งั้ ใจก็ได้ ผู้เขยี นอาจใชแ้ นวคดิ เน้อื หา หรอื ถ้อยคำ�
ทเ่ี คยใชใ้ นงานของตนทผ่ี า่ นมา แตท่ เี่ ปน็ ความผดิ ทร่ี นุ แรงมาก คอื นำ� ผลงานของตนทเี่ คยตพี มิ พ์ นำ� เสนอ
มาใช้ในลักษณะท่ีไม่ได้มีการปรับปรุงหรือพัฒนาอย่างมาก เพ่ือเป็นการท�ำให้คิดว่าเป็นงานที่สร้างสรรค์
ขึ้นมาใหม่

       ตวั อยา่ งพฤตกิ รรมทจ่ี ดั เปน็ การลอกเลยี นวรรณกรรมในกรณขี องนกั วจิ ยั เชน่ นกั คอมพวิ เตอร์ 2
คน จากมหาวทิ ยาลยั แคนซสั (University of Kansas) คอื มาเฮช วสิ วนาธาน (Mahesh Visvanathan)
และเจอราด ลซู งิ ตนั (Gerald Lushington) ไดท้ �ำการลักลอบวรรณกรรม ในบทความวจิ ยั 3 บทความ
โดยนำ� เอาขอ้ ความจากงานของนกั วจิ ยั คนอนื่ มาใสใ่ นงานของตน และนำ� เอาขอ้ มลู ดงั กลา่ วมาเตรยี มนำ� เสนอ
ในการประชมุ ท่ปี ระเทศสวีเดน แตไ่ ม่ทนั ไดน้ ำ� เสนอ เนื่องจากถูกกลา่ วหาเสียกอ่ น Office of Research
Integrity ของประเทศสหรฐั อเมรกิ า ไดพ้ จิ ารณาใหน้ กั คอมพวิ เตอรท์ งั้ สองยงั ทำ� งานทเี่ ดมิ ตอ่ ไดไ้ มถ่ กู ไลอ่ อก
แต่ทางมหาวิทยาลัยต้องควบคุมงานวิจัยของทั้งสองอย่างเข้มงวดมิให้กระท�ำผิดเช่นนี้อีกในระยะต่อมาอีก
2-3 ปี (Bavley, 2012)

       สำ� หรบั ในสถาบนั การศกึ ษา จากการศกึ ษาในระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาในประเทศเปรู (Carnero et.al,
2017, pp. 1188-1189) มีตวั อยา่ งพฤตกิ รรมการลักลอกวรรณกรรมหลายกรณี เช่น

            1)	การแบง่ ปนั ขอ้ มลู เกย่ี วกบั งานทไี่ ดร้ บั มอบหมายรายบคุ คลทางอเี มลและขอความคดิ เหน็
จากเพ่ือนร่วมชั้นเรียน ท้ังท่ีเป็นข้อตกลงอย่างชัดเจนในรายวิชาว่าจะไม่ท�ำเช่นน้ัน ผู้ช่วยสอนได้แจ้งให้
อาจารย์ประจ�ำรายวิชาทราบ นักศึกษาถูกปรับตกในงานช้ินน้ัน และภาคทัณฑ์ตลอดภาคการศึกษา แต่
เพ่ือนรว่ มชัน้ ได้รบั การยกเวน้ การลงโทษ เพราะไมม่ ีผูใ้ ดเข้ามาร่วมตอบและออกความเห็นแต่อยา่ งใด

            2)	การลอกเลียนวรรณกรรมในวิชาระเบียบวิธีวิจัยท่ีเป็นงานให้ท�ำร่างวิทยานิพนธ์ ในการ
สง่ ร่างวทิ ยานิพนธ์ นกั ศึกษาไดส้ ่งงานบางตอนทเี่ ขยี นไดด้ ี ชัดเจน ซึง่ แตกต่างกนั โดยส้นิ เชิงกับสว่ นอื่นๆ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49