Page 45 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 45
แนวคดิ การวิจัยทางสารสนเทศศาสตร์ 2-35
ทง้ั ยงั มกี ารใชศ้ พั ทท์ แ่ี ตกตา่ งออกไปจากทเ่ี ขยี นมาแตเ่ ดมิ การอา้ งองิ ไมส่ มั พนั ธก์ บั ขอ้ ความทย่ี กมา อาจารย์
ผสู้ อนจงึ ลองสบื คน้ ขอ้ ความดงั กลา่ วบนอนิ เทอรเ์ นต็ พบวา่ เปน็ การลอกเลยี นแบบคำ� ตอ่ คำ� แตก่ ระจายอยู่
ในบทความหลายบทความ นักศึกษาถูกลงโทษใหส้ อบตกรายวิชานี้ และพักการเรียนในปกี ารศกึ ษานั้น
3) การลอกเลยี นวรรณกรรมในวิชาระเบยี บวธิ วี ิจัย 2 ในวิชาน้ีนักศึกษาต้องเสนอโครงร่าง
วิทยานิพนธ์ ได้มีข้อสงสัยว่า มีนักศึกษาสองคนอาจกระท�ำผิดในการลอกเลียนวรรณกรรม คนที่ 1 ยก
ขอ้ ความมาแบบไมอ่ า้ งองิ อกี คนหนงึ่ ลอกเลยี นงานของตนเอง ทางโปรแกรมการศกึ ษาไดต้ ดั สนิ ใหท้ ง้ั คตู่ ก
และพกั การเรยี นตลอดปกี ารศกึ ษา นกั ศกึ ษาทไี่ มย่ อมรบั วา่ ลอกเลยี นงานตนเองจะทำ� การฟอ้ งรอ้ ง แตท่ าง
มหาวิทยาลัยยืนยันการลงโทษ จึงไม่ฟอ้ งร้องและกลบั เขา้ ศึกษาตอ่ แต่เรยี นไม่จบ
การลอกเลยี นวรรณกรรมเปน็ ประเดน็ สำ� คญั ทปี่ ระชาคมวชิ าการ ใหค้ วามสนใจ สถาบนั การศกึ ษา
หลายแห่งท้ังในประเทศและต่างประเทศ ได้ก�ำหนดแนวนโยบายหรือแนวปฏิบัติท่ีเก่ียวกับเรื่องน้ี และมี
ความพยายามท่จี ะสรา้ งความตระหนกั รู้แก่นกั ศกึ ษา อาจารย์ และนกั วิจัย นอกจากนี้ ยงั ใชโ้ ปรแกรมใน
การตรวจสอบการคดั ลอก หรอื นาํ ผลงานของผอู้ น่ื มาใชอ้ ยา่ งไมถ่ กู ตอ้ ง เขน่ โปรแกรมเทริ น์ อทิ อนิ (Turnitin)
ซงึ่ เปน็ โปรแกรมตรวจสอบการคดั ลอกผลงานทางวชิ าการจากอนิ เทอรเ์ นต็ บทความวารสารของสำ� นกั พมิ พ์
ต่างๆ และจากผลงานของนักศึกษาทั่วโลกท่ีอยู่ในคลังข้อมูลของเทิร์นอิทอิน และอักขราวิสุทธิ์ ซ่ึงเป็น
ระบบตรวจสอบที่พัฒนาโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตรวจสอบกับผลงานทางวิชาการฐานข้อมูล
วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ วารสารทางวิชาการ และรายงานวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมไปถึง
บทความจากเว็บไซต์วิกิพีเดีย ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์จากมหาวิทยาลัยที่ร่วมลงนามความร่วมมือกับ
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย และฐานข้อมูลวทิ ยานิพนธ์จากส�ำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
กิจกรรม 2.2.2
1. ในฐานะนกั วิจยั ควรมแี นวทางปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร จงึ จะเป็นผมู้ จี รรยาวชิ าชพี ในการทำ� วิจัย
2. นาย ก. เขียนบทความทางวิชาการ เร่ือง “ห้องสมุดกับประชาคมอาเซียน ในปี 2560” มี
ขอ้ ความตอนหนง่ึ ว่า
การเขา้ รว่ มประชาคมอาเซยี น นบั เปน็ โอกาสในการทจ่ี ะขยายขอบเขตการเขา้ ถงึ ทรพั ยากร
สารสนเทศนอกกรอบของห้องสมุด สามารถแลกเปล่ียนและแบ่งปันทรัพยากรในกลุ่มประชาคม
อาเซียนได้มากยิ่งข้ึน และยังเป็นการเพ่ิมการเข้าถึงจากประชาคมโลกท่ีสนใจในคอลเล็กชันของ
อาเซยี น หอ้ งสมดุ ในฐานะแหลง่ ความรู้ จะมโี อกาสทงั้ ในการเผยแพรค่ วามรเู้ กย่ี วกบั ประเทศไทยและ
ประเทศอาเซียนให้กับผู้สนใจ ในขณะเดียวกันก็จะได้เพ่ิมพูนความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ประชาคม
อาเซยี นให้กับทุกภาคสว่ น เพอื่ พรอ้ มรับความเปลยี่ นแปลงทีจ่ ะเกิดข้ึน