Page 38 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 38
2-28 การวิจยั เบ้ืองตน้ ทางสารสนเทศศาสตร์
3. ความส�ำคัญต่อการพัฒนาวิชาชีพสารสนเทศศาสตร์ วชิ าชีพสารสนเทศศาสตร์ไม่ได้มเี พียง
การปฏิบัติและการประยุกต์หลักการหรือทฤษฎีทางสารสนเทศศาสตร์และศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องเท่าน้ัน
การด�ำเนนิ งานสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพต้องอาศยั องคป์ ระกอบทีส่ ำ� คญั คือ การศกึ ษาคน้ คว้าในสว่ น
ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการปฏิบัตงิ านและวิชาชีพ ซ่งึ สามารถท�ำได้หลายวิธี การท่ีวิชาชีพจะบรรลุเปา้ หมายเชน่ นี้
ได้จ�ำเปน็ ต้องอาศัย การวิจัยสหวิทยาการ เปน็ การศกึ ษาวิจยั ในสาขาวิชาต่างๆ ทีส่ นับสนนุ และสมั พันธ์
กับวชิ าชพี สารสนเทศศาสตร์ นอกจากน้ี ยงั มศี าสตรส์ าขาอนื่ ๆ อกี หลายสาขาทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ บั วชิ าชพี
ทสี่ ามารถชว่ ยใหค้ ำ� อธบิ ายปรากฏการณท์ างวชิ าชพี ไดอ้ ยา่ งชดั เจน นกั วจิ ยั จำ� เปน็ ตอ้ งตระหนกั ถงึ ความสมั พนั ธ์
ดังกล่าว และประยกุ ต์การวจิ ยั สหวิทยาการเป็นเครอ่ื งมือเพอ่ื ชว่ ยใหว้ ิชาชีพสารสนเทศศาสตรพ์ ัฒนาเป็น
ส่วนหน่ึงของสังคมความรู้ได้อย่างเต็มท่ี ภารกิจของวิชาชีพน้ีมิได้อยู่ท่ีการฝึกอบรมหรือผลิตบุคลากร
สารสนเทศเพยี งเพอื่ ไปปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ประจำ� วนั เทา่ นนั้ หากแตอ่ ยทู่ ก่ี ารใชท้ ฤษฎคี วามรใู้ นการจดั การสารสนเทศ
ใหเ้ กิดประโยชน์แก่ปจั เจกบุคคล ชุมชน และสังคมโดยรวม โดยนยั นี้ การวิจัยและ/หรือผลการวจิ ยั ย่อมมี
บทบาทในการเพ่ิมสาระเพอ่ื การจัดการในวิชาชพี เปน็ อยา่ งดี
ตวั อยา่ งงานวจิ ยั ทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ แนวทางการพฒั นาวชิ าชพี ทางสารสนเทศศาสตร์ เชน่ การวจิ ยั
เรอื่ ง การพฒั นาทางวชิ าชพี ของบรรณารกั ษส์ ถาบนั การศกึ ษา สงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
(สุธรี า วงศพ์ ฒุ ิ, 2548) ทศี่ กึ ษาสถานภาพของบรรณารกั ษ์ สภาพ ปัญหา และอปุ สรรค ความตอ้ งการ
พฒั นทางวชิ าชีพ และรูปแบบกิจกรรมการพฒั นาวิชาชพี ที่เหมาะสมสำ� หรบั บรรณารกั ษส์ ถาบันการศึกษา
สังกัดคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การวิจัยเรื่อง ความเป็นสากลของการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์
และสารสนเทศศาสตรใ์ นประเทศไทย (ชตุ มิ า สจั จานนั ท,์ 2558) ทส่ี งั เคราะหก์ รอบแนวคดิ ความเปน็ สากล
สภาพการด�ำเนินงานการพัฒนาความเป็นสากล แนวปฏิบัติที่ดี และการพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนา
ความเปน็ สากลของสถาบนั การศกึ ษาวชิ าบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตรใ์ นประเทศไทย การวจิ ยั
เรอื่ ง การพฒั นากรอบสมรรถนะดา้ นการวจิ ยั ของบรรณารกั ษห์ อ้ งสมดุ สถาบนั อดุ มศกึ ษา (กาญจนา จนั ทรส์ งิ ห,์
2559) ท่พี ัฒนากรอบสมรรถนะด้านการวิจยั ของบรรณารักษ์หอ้ งสมดุ สถาบนั อดุ มศึกษา เป็นตน้
4. ความส�ำคัญต่อการพัฒนาสังคม การวจิ ยั ทม่ี คี ณุ ภาพไมว่ า่ ในสาขาใดยอ่ มมผี ลตอ่ การพฒั นา
ประเทศและสังคมท้ังส้ิน หรือไม่เป็นผลโดยตรงก็โดยอ้อม โดยเฉพาะอย่างย่ิง การวิจัยท่ีค�ำนึงถึงความ
สอดคลอ้ งสนองตอบตอ่ ปญั หาตามสภาพทแี่ ทจ้ รงิ ของสงั คม การวจิ ยั ทางสารสนเทศศาสตรท์ ม่ี ผี ลตอ่ สงั คม
โดยตรง เช่น การต่อยอดการวิจยั พ้นื ฐานเพอื่ ประยกุ ต์พัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศทีส่ อดคล้องกบั สภาพ
แวดลอ้ มของสังคมไทยน้ัน ถือว่าเปน็ การลดตน้ ทนุ ของสังคมหรอื อกี นัยหนง่ึ เป็นการลดการขาดดลุ การคา้
โดยไม่จ�ำเป็นต้องพ่ึงพาการน�ำเข้าเทคโนโลยีสารสนเทศจากต่างประเทศซึ่งล้วนแล้วแต่มีราคาสูงทั้งส้ิน
ส่วนการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์การสารสนเทศอย่างถูกทาง ย่อมส่งผลในทางบวกต่อสังคมในแง่ของการมี
ระบบและบรกิ ารสารสนเทศทสี่ ามารถเปน็ พลงั รว่ มในการสรา้ งเสรมิ วฒั นธรรมการเรยี นรแู้ ละคณุ ภาพชวี ติ
ของสมาชกิ สงั คม ตลอดจนเปน็ พลงั รว่ มในการพฒั นาสงั คมโดยรวม การสรา้ งสงั คมรกั การอา่ น และการสรา้ ง
พลเมอื งโลกให้มีความรู้ เพื่อการพฒั นาสงั คมและประเทศใหเ้ จริญกา้ วหนา้ ตอ่ ไป