Page 36 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 36

14-26 การผลติ ภาพยนตรเ์ บอ้ื งต้น
          แต่สุดท้ายเขาได้พบว่า เขาก็คือเด็กหนุ่มคนนั้นเอง และการฆ่าตัวตายไม่ใช่เป็นเพราะมาจาก

  คนรอบขา้ ง แตเ่ ปน็ เพราะเขาเอง คำ� ตอบดงั กลา่ วทำ� ใหเ้ ทวทตู หรอื ผคู้ มุ อนญุ าตใหเ้ ขาอยใู่ นโลกนไี้ ด้ เขาก็
  ตดั สนิ ใจเผชิญโลกโดยไม่ฆ่าตัวตายอีกต่อไป และใช้ชีวิตเสมือนรางวัลที่ได้รับอย่างมีความสุขบนโลกที่
  โหดร้าย”

       การพฒั นาทรตี เมนตห์ รอื บทขนาดยอ่ นน้ั ผทู้ ม่ี บี ทบาทหลกั คอื ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ ซงึ่ อาจรว่ มมอื
กบั ผเู้ ขยี นบทภาพยนตร์ เพอ่ื จะทำ� ใหเ้ นอื้ หาหรอื เรอ่ื งราวนนั้ เปน็ ทนี่ า่ สนใจ บางครงั้ อาจใชเ้ วลาทยี่ าวนาน
เพอื่ จะไดบ้ ทท่โี ดดเด่นดึงดูดผชู้ มให้มากที่สุด

       สิ่งส�ำคัญท่ีมากกว่านั้น ก็คือ ทรีตเมนต์ มักจะเป็นเอกสารส�ำคัญส�ำหรับการน�ำไปเสนอเพื่อขอ
งบประมาณจากแหลง่ ทนุ ตา่ งๆ ทงั้ กรณขี องนายทนุ ทเ่ี ปน็ บรษิ ทั ผผู้ ลติ ภาพยนตร์ และรวมไปถงึ การหาเงนิ
ทนุ สนบั สนุนการผลติ ภาพยนตรจ์ ากเอกชน เหตผุ ลก็เน่ืองมาจากผสู้ นบั สนนุ เงินทนุ อาจมิได้มีความเขา้ ใจ
หรอื แมก้ ระทง่ั มเี วลาเพยี งพอในการอา่ นบทภาพยนตร์ (screenplay) หรอื บทขนาดยาว การนำ� เสนอเพยี ง
เน้ือหาย่อยๆ แต่ได้ใจความจะเป็นหัวใจหลักส�ำหรับการของบประมาณการลงทุน รายละเอียดจะกล่าว
ตอ่ ไปในหัวขอ้ ถัดไป

       ข้ันตอนที่สาม การพัฒนาบทภาพยนตร์
       ในความเป็นจริงการพัฒนาบทเพ่ือการขอเงินทุนการผลิตภาพยนตร์มักจะจบลงที่ทรีตเมนต์ แต่
ข้นั ตอนการพัฒนาบทภาพยนตร์ หรอื ท่ีเรยี กว่า สกรีนเพลย์ (screenplay) หรอื บทขนาดยาวจะเป็นส่วน
ท่ีด�ำเนินการต่อไป และมักจะมาหลังจากการได้รับงบประมาณแล้ว เพราะหากยังมิได้รับงบประมาณการ
จะพฒั นาบทขนาดยาวกจ็ ะเปน็ การสิน้ เปลอื งและสญู เสียงบประมาณค่อนข้างมาก
       บทภาพยนตรข์ นาดยาวนี้ ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งในการบรหิ ารงาน มกั จะประกอบไปดว้ ยผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์
นักเขยี นบทภาพยนตร์ และสครปิ ต์ ดอกเตอร์ (script doctor) ทงั้ สามคนจะท�ำงานประสานไปด้วยกัน
โดยที่หัวหน้าทีมคือ ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ส่วนนักเขียนบทภาพยนตร์จะเป็นผู้เขียนเนื้อหาเรื่องราวออกมา
เปน็ บทภาพยนตรท์ จี่ ะประกอบไปดว้ ยรายละเอยี ดทงั้ หมด ไลล่ ำ� ดบั ตามฉาก ตง้ั แตต่ น้ จนจบ โดยมที งั้ การ
บรรยายฉาก สถานที่ ภาพที่ต้องการ บทสนทนา
       การเขยี นบทภาพยนตรจ์ ะมคี วามยงุ่ ยากซบั ซอ้ น บางครง้ั กอ่ นเขยี นตอ้ งมกี ารวจิ ยั หรอื การสำ� รวจ
เช่น หากบทภาพยนตร์ที่เขียนเก่ียวข้องกับประวัติศาสตร์ ก็จะต้องมีทีมงานที่ต้องค้นหาหลักฐานทาง
ประวตั ศิ าสตร์ สถานทต่ี ่างๆ เพ่อื เปน็ ขอ้ มูลประกอบการเขยี น นอกจากนนั้ หลายครงั้ อาจใชท้ มี เขียนบท
ภาพยนตร์ จ�ำนวนหลายๆ คน เหตนุ จี้ งึ มักจะมสี คริปต์ ดอกเตอร์ ทีช่ ่วยท�ำหน้าท่ีพิจารณาบทภาพยนตร์
และแกไ้ ขบทภาพยนตรท์ อ่ี าจมชี อ่ งโหวแ่ ละอาจไมน่ า่ สนใจพฒั นาใหก้ ลายเปน็ บทภาพยนตรท์ ส่ี ามารถขาย
ไดด้ งั แนวคดิ พาณิชยศ์ ิลป์
       เมื่อบทภาพยนตร์แล้วเสร็จ หน้าท่ีของนักเขียนบทภาพยนตร์และสคริปต์ ดอกเตอร์ จะหมดไป
แต่จะต้องมีการลงนามสัญญาเพื่อการซ้ือขายบทภาพยนตร์ มิเช่นน้ันแล้วอาจเกิดปัญหาตามมาภายหลัง
ได้ การขายบทภาพยนตรอ์ าจทำ� ไดท้ งั้ การขายเพยี งแกน่ เรอื่ งหรอื บกิ๊ ไอเดยี ทรตี เมนต์ หรอื บทภาพยนตร์
(ฉบบั สมบรู ณ)์ และจ�ำนวนราคากข็ น้ึ อยู่กบั เงอ่ื นไขขอ้ ตกลงกัน บางกรณอี าจไมเ่ น้นการขายคร้ังเดียวแต่
อาจแบ่งรายรับหรอื รายไดจ้ ากภาพยนตร์กเ็ ปน็ ได้
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41