Page 40 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 40
14-30 การผลิตภาพยนตรเ์ บอ้ื งตน้
การของบประมาณตามแนวทางท่สี องจะเปน็ บทบาทของผู้อ�ำนวยการสรา้ ง ซ่ึงอาจเปน็ สว่ นหนงึ่
ของสตูดโิ อภาพยนตร์ หรืออาจไม่ใช่กไ็ ด้ และน�ำเสนองบประมาณการผลติ ภาพยนตรใ์ ห้กบั บริษัทสตดู ิโอ
ภาพยนตรเ์ ปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การ แมจ้ ะดเู หมอื นวา่ ขนั้ ตอนนอ้ี าจจะงา่ ย แตใ่ นความเปน็ จรงิ ปญั หาหนงึ่ ทผ่ี ผู้ ลติ
ภาพยนตรจ์ ะตอ้ งประสบก็คือ “การต่อรอง” ระหวา่ งบริษทั เจา้ ของเงนิ ทนุ เพราะเจ้าของเงินทุนก็มีความ
ตอ้ งการเฉพาะ เชน่ อาจตอ้ งการดาราบางคน ตอ้ งการปรบั บทหรอื เนอ้ื หาในภาพยนตร์ ฯลฯ ความสามารถ
ของการบรหิ ารจดั การในจดุ นี้ จงึ เปน็ สว่ นสำ� คญั มาก บางกรณอี าจตอ่ รองไดม้ ากและบางกรณกี อ็ าจตอ่ รอง
ได้นอ้ ย (พรรณราย โอสถาภิรตั น,์ 2543)
แนวทางทส่ี าม การน�ำเสนองบประมาณเพ่ือการหาทุน
เน่อื งด้วยภาพยนตร์มคี า่ ใช้จา่ ยการผลิตจนถงึ การจดั จำ� หน่าย การฉาย และการบรโิ ภคคอ่ นขา้ ง
สงู บอ่ ยครง้ั การแสวงหางบประมาณจงึ ไมอ่ าจจบลงทแ่ี นวทางสองแนวทางขา้ งตน้ ผผู้ ลติ ภาพยนตรจ์ �ำเปน็
ต้องหาแหลง่ เงนิ ทนุ ในการผลิตภาพยนตรจ์ ากช่องทางอ่นื ๆ ทงั้ นี้ มิได้หมายความว่า การของบประมาณ
จะต้องของบประมาณทง้ั หมดหรือท้งั กระบวนการ อาจสามารถจำ� แนกได้ คือ ขั้นตอนการพฒั นาโครงการ
ภาพยนตร์ ขน้ั ตอนกอ่ นการผลติ ระหวา่ ง หลงั การผลติ และขน้ั ตอนการเผยแพรจ่ ดั จำ� หนา่ ยและการสอื่ สาร
การตลาด
การกล่าวเช่นน้ีก็เนื่องจากองค์การการให้ทุนการผลิตภาพยนตร์มักจะแยกส่วนการให้ทุนที่แตก
ต่างกัน เพื่อด้านหน่ึงคือ การกระจายงบประมาณที่อาจมีน้อยและสามารถให้ทุนภาพยนตร์การผลิตท่ี
ครอบคลุมภาพยนตร์ที่มีปริมาณมากขึ้น และส่วนหน่ึงก็มาจากเป้าประสงค์ขององค์การให้ทุนท่ีแตกต่าง
กนั ดว้ ย บางองคก์ ารอาจเนน้ การใหท้ นุ สำ� หรบั นกั ทำ� หนงั หนา้ ใหม่ จงึ เนน้ การพฒั นาบทภาพยนตรก์ ารพฒั นา
โครงการภาพยนตร์ บางองค์การอาจให้ทุนงบประมาณในช่วงการถ่ายท�ำหรือหลังการถ่ายท�ำ หรือบาง
องคก์ ารกจ็ ะเน้นการใหท้ นุ ในขั้นตอนการจัดจ�ำหนา่ ย การฉาย และการสอ่ื สารการตลาด
หน่วยงานท่ีให้ทุนสนับสนุน สามารถจ�ำแนกได้ ดงั นี้
(1) บริษัทเอกชน มักจะเป็นบริษทั เอกชนทวั่ ไปทด่ี ้านหน่ึงอาจให้ความสนใจภาพยนตร์ใน
แง่เป็นสื่อที่สร้างสรรค์น�ำเสนอประเด็นสังคม องค์การต้องการจะใช้ภาพยนตร์เพ่ือส่ือสารภาพลักษณ์
องคก์ าร แตใ่ นอกี ดา้ นหนงึ่ บรษิ ทั เอกชนบางแหง่ โดยเฉพาะในตา่ งประเทศกจ็ ะใหค้ วามสนใจตอ่ การลงทนุ
ในตลาดภาพยนตร์ เพราะมองว่า ภาพยนตร์ก็เป็นธุรกิจประเภทหน่ึงท่ีสามารถได้รับผลก�ำไรได้สูงเช่น
เดียวกนั แต่กต็ อ้ งวางอยูบ่ นความเสีย่ ง
(2) องค์การรัฐ จะเป็นหน่วยงานที่ส�ำคัญที่จะให้งบประมาณสนับสนุนการผลิตภาพยนตร์
ดังท่ีปรากฏอยู่ในพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. 2551 ท่ีให้ความส�ำคัญต่อการสนับสนุน
การผลติ ภาพยนตร์ แตเ่ งอื่ นไขสำ� คญั จะเนน้ ภาพยนตรท์ ส่ี อดรบั เปา้ หมายหรอื นโยบายของรฐั เปน็ ผกู้ ำ� หนด
นอกจากนัน้ หากเป็นการผลติ ภาพยนตรใ์ นชุมชน หนว่ ยงานท่ีสามารถให้ทุนสนบั สนุนได้
กค็ อื อบต. อบจ. หากภาพยนตรเ์ รอ่ื งที่ผลิตนน้ั เกยี่ วขอ้ งกบั พนื้ ทช่ี มุ ชน
(3) องคก์ ารไม่แสวงหาก�ำไรในตา่ งประเทศ ภารกจิ หนงึ่ ของหน่วยงานองค์การไม่แสวงหา
ก�ำไร คือ การสนับสนุนทุนในด้านศิลปะให้กับศิลปินบนเง่ือนไขท่ีแตกต่างกัน เช่น อาจสนับสนุนสำ� หรับ
ศิลปินในประเทศหรืออาจขยายความสู่ทั่วโลก ดังกรณี เวิล์ด ซีเนม่า ซับพอร์ทส์ (Word Cinema