Page 45 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 45
การบรหิ ารการผลติ ภาพยนตร์ 14-35
ผูก้ �ำกับภาพยนตร์ (director) ควรเปน็ ผทู้ ม่ี ีความรู้ด้านภาพยนตร์ ทง้ั ด้านศลิ ปะภาพยนตร์ การ
แสดง รวมถึงมีความเป็นผู้บริหาร เป็นผู้น�ำ เพราะต้องเป็นผู้ควบคุมองค์การภาพยนตร์ นอกจากน้ันใน
กรณขี องการทภ่ี าพยนตรเ์ ปน็ พาณชิ ย์ศิลปผ์ ู้ก�ำกบั ภาพยนตรย์ งั ตอ้ งมีสายตาธุรกิจดว้ ย
ผู้อำ� นวยการสรา้ ง (producer) ไลน์โปรดิวเซอร์ (line producer) และผจู้ ดั การกองถา่ ย (pro-
duction manager) เป็นหน่วยงานสนับสนุนการท�ำงานของผู้ก�ำกับภาพยนตร์ โดยที่ผู้อ�ำนวยการสร้าง
เสมอื นนายใหญ่ ทบ่ี รหิ ารจดั การการวางแผนในดา้ นงบประมาณ ทมี งาน คา่ ใชจ้ า่ ย การจดั ซอ้ื จดั จา้ ง และ
ในกรณขี องกองถา่ ย จะมไี ลนโ์ ปรดวิ เซอร์ และผจู้ ดั การกองถา่ ย เปน็ ผชู้ ว่ ย จดุ ตา่ งของทงั้ สองคน คอื ไลน์
โปรดิวเซอร์จะดใู นรายละเอียดของงบประมาณระหว่างการถ่ายทำ� ส่วนผู้จดั การกองถา่ ยจะดแู ลเบด็ เตล็ด
การดูแลสถานทถี่ ่ายทำ� อาหาร และการจัดทำ� ใบนดั (call sheet) ในแต่ละวันท่ีออกกองถ่าย ทงั้ นี้ ผรู้ ับ
ผดิ ชอบท้ังหมดน้ีจะตอ้ งมคี วามรคู้ วามเข้าใจการท�ำงานของภาพยนตร์ มคี วามสามารถในด้านการบริหาร
จดั การ และการต่อรองโดยเฉพาะการต่อรองกบั แง่มุมศลิ ปะของผู้กำ� กับภาพยนตร์
ผู้ชว่ ยผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ (assistant director) เปน็ ผูท้ ่ชี ่วยหรอื เป็นมอื ไมใ้ ห้กบั ผูก้ ำ� กับ จะต้อง
ท�ำหน้าท่ีจัดเตรียม วางแผนการถ่ายท�ำ การแตกบท การควบคุมคิวนักแสดง และรวมถึงการสรุป
การท�ำงาน ท�ำใหผ้ ู้ท่จี ะท�ำหนา้ ทนี่ ี้ตอ้ งประสานงานเปน็ มีความรูด้ า้ นภาพยนตร์ และเป็นผ้ทู อี่ ดทนสงู
ผกู้ ำ� กบั ภาพ (director of photography) จะตอ้ งทำ� หนา้ ทดี่ า้ นกลอ้ ง ภาพทม่ี าจากกลอ้ ง จงึ ตอ้ ง
เขา้ ใจเรอ่ื งกลอ้ ง อปุ กรณก์ ลอ้ ง เลนส์ การจดั แสง การจดั องคป์ ระกอบของภาพ แมว้ า่ ผกู้ ำ� กบั ภาพจะไมไ่ ด้
เป็นตากล้อง หรอื ผ้ถู ่ายภาพยนตร์ แตก่ ็จะตอ้ งเป็นผทู้ ่เี ข้าใจองคร์ วมของภาพ และให้คำ� แนะนำ� ช่างภาพ
หรอื ตากล้องได้
ผอู้ อกแบบงานสรา้ ง (production designer) มหี นา้ ทสี่ รา้ งสรรคภ์ าพทไี่ มใ่ ชม่ าจากกลอ้ ง แตเ่ ปน็
ภาพท่ีมาจากการเห็นทั้งหมด เช่น ฉาก เคร่ืองแต่งกาย เสื้อผ้า ฯลฯ เพื่อให้ภาพยนตร์ทั้งหมดมีโทน
อารมณ์ (mood and tone) ไปในทศิ ทางเดียวกันหรอื สอดคล้องกนั ในขณะที่ผู้ออกแบบงานสร้าง เป็น
เสมือนหัวหน้าทีม บางกรณีหากกองถ่ายมีขนาดใหญ่ก็อาจมีผู้ก�ำกับศิลป์ (art director) จะเป็นเสมือน
ผู้ช่วยที่น�ำส่ิงท่ีผู้ออกแบบงานสร้างจินตนาการไว้และออกแบบให้เป็นจริง ด้วยเหตุนี้ ทั้งคู่จะต้องมีความ
คิดสร้างสรรค์ มคี วามเขา้ ใจด้านศลิ ปะ รวมไปถึงความรดู้ ้านสถาปตั ยกรรม วิศวกรรม เพราะในบางครั้ง
อาจต้องออกแบบโครงสรา้ งขนาดใหญ่ เชน่ ตกึ เรอื
ในกรณีของทมี งานฝ่ายศลิ ป์ มักจะเปน็ ทมี งานทีผ่ ู้ออกแบบงานสร้างและผูก้ �ำกับศลิ ป์ มคี วามคุน้
เคยอย่แู ล้ว ตง้ั แต่ผู้หาสถานทถี่ า่ ยท�ำ ผู้ออกแบบฉาก ฝา่ ยเสือ้ ผา้ หน้าผม และฝ่ายเทคนิคพิเศษ ท้ังหมด
จะตอ้ งมคี วามร้ดู า้ นศิลปะท่ตี นถนัด
ส�ำหรับต�ำแหน่งดารา (actor/actress) การแสวงหา มีได้ทั้งการเป็นดาราคู่บุญ สัญญาจาก
ผอู้ ำ� นวยการสรา้ งหรอื บรษิ ทั และรวมไปถงึ การคดั เลอื กดาราทเี่ หมาะสมผา่ นกระบวนการแคสตงิ้ (casting)
ซงึ่ จะมาไดท้ งั้ จากการประกาศรบั สมคั ร โมเดลลง่ิ หรอื เอเจนซด่ี ารานกั แสดง และการเรยี กนกั แสดงมาสวม
บทบาท ในกรณที ด่ี ารานน้ั มบี ทบาททส่ี ำ� คญั จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารซกั ซอ้ มนกั แสดง ซงึ่ จะกลา่ วถงึ ในหวั ขอ้ ถดั ไป
อน่ึง การแสวงหาทีมงาน รวมถึงดาราดังที่กล่าวไปข้างต้นนั้น มักจะเป็นการแสวงหาทีมงานใน
อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยกระแสหลักเป็นหลัก แต่หากเป็นกรณีอ่ืนๆ ก็อาจมีความเปล่ียนแปลงไปได้