Page 44 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 44

14-34 การผลติ ภาพยนตร์เบือ้ งตน้
       ในบางกรณีหากจินตนาการมคี วามซบั ซอ้ น เช่น กรณีของภาพยนตร์ไซไฟ ภาพยนตรผ์ ี ทีอ่ าจ

ต้องใช้เทคนคิ พเิ ศษ ผู้ก�ำกบั ภาพกบั ผ้อู ำ� นวยการสรา้ ง อาจใช้วธิ ีการวาดสตอรีบอร์ด (story board) เพ่ือ
ท�ำให้จินตนาการกลายเป็นภาพที่เห็นด้วยตาเพ่ือจะได้ส่ือความหมายกับทีมงาน รวมไปถึงฝ่ายเทคนิค
พิเศษจะไดส้ ามารถผลติ ภาพยนตรไ์ ปไดต้ ามท่ตี ้องการ

       อน่ึง ส�ำหรบั ภาพยนตร์บางตระกูล เชน่ ภาพยนตรผ์ ี ภาพยนตรไ์ ซไฟ มักจะเปน็ ภาพยนตร์ท่ีจะ
มีหน่วยงานหนึ่งท่ีเก่ียวข้องคือ เทคนิคพิเศษทางภาพ (visual effects) เช่น การใช้เทคนิคกรีนสกรีน
(green screen) การทำ� ภาพในคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ (computer-generated imagery, CGI) การดำ� เนนิ
งานจะตอ้ งเรมิ่ ตน้ ตง้ั แตข่ น้ั ตอนการเตรยี มการ นน่ั กห็ มายความวา่ ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตรจ์ ะตอ้ งปรกึ ษาหารอื
กบั ฝา่ ยเทคนคิ พเิ ศษทางภาพ เพอ่ื ทจ่ี ะเตรยี มวางแผนการถา่ ยทำ� ไวก้ อ่ นลว่ งหนา้ มใิ ชข่ น้ั ตอนหลงั การถา่ ย
ท�ำ รวมถึงฝ่ายเทคนิคพิเศษทางภาพก็จะเข้ามาเกี่ยวข้องในการถ่ายท�ำด้วย และอาจเป็นกองถ่ายท่ีสอง
(second unit production)

       การพฒั นาบทในจดุ นี้ ถอื ไดว้ า่ เปน็ สง่ิ สำ� คญั อยา่ งมาก เพราะจะมคี วามสมั พนั ธก์ นั กบั การบรหิ าร
การถา่ ยทำ� และยงั รวมไปถงึ หลงั การถา่ ยท�ำ เชน่ การท�ำเทคนคิ พเิ ศษทางภาพ ทง้ั นี้ หากมกี ารพฒั นาบท
ทส่ี มบรู ณเ์ ปน็ บทถา่ ยทำ� (shooting script) ทล่ี ะเอยี ด กจ็ ะสง่ ผลใหผ้ ชู้ ว่ ยผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ จะสามารถ
น�ำบทดังกล่าวมาแยกบท หรือเรียกว่า breakdown script โดยจะสามารถระบุให้เห็นว่า การถ่ายท�ำ
ทง้ั หมดนนั้ จะถา่ ยทำ� กว่ี นั แตล่ ะวนั จะถา่ ยทำ� อะไรกอ่ นหลงั แตล่ ะวนั นนั้ จะมใี ครเกยี่ วขอ้ ง ใชอ้ ปุ กรณอ์ ะไร
โดยเฉพาะอุปกรณก์ ล้อง ไฟ อปุ กรณป์ ระกอบฉาก สถานท่ี

2. 	การแสวงหาบุคลากร ทีมงาน และการท�ำสัญญาจัดจ้าง

       หลงั จากการขนั้ ตอนแรกแลว้ ขน้ั ตอนท่สี อง ซ่ึงส่วนหนึ่งระยะเวลาจะคาบเกยี่ วกับข้ันตอนแรก ก็
คือ การแสวงหาบุคลากร หรือทีมงาน และการท�ำสัญญาจัดจ้าง ในขั้นตอนน้ี ผู้ท่ีมีอ�ำนาจก็ยังคงเป็น
ผ้กู �ำกับภาพยนตร์ และท�ำงานรว่ มกับผอู้ �ำนวยการสร้าง

       โดยส่วนใหญ่ผู้ก�ำกับภาพยนตร์มักจะท�ำงานร่วมกับทีมงานเดิม เพราะมีความมั่นใจว่า ทีมงาน
เดมิ มคี วามคุ้นเคยกับผกู้ �ำกบั ภาพยนตร์ โดยเฉพาะผกู้ ำ� กับภาพ ผอู้ อกแบบงานสรา้ ง และผ้ชู ่วยผกู้ ำ� กบั
ภาพยนตร์ มักจะเป็นสามทหารเสือหลักของการท�ำงานของผู้ก�ำกับภาพยนตร์ และในบางคร้ังผู้ก�ำกับ
ภาพยนตรบ์ างท่านก็อาจมดี าราประจำ� หรอื ดาราคูบ่ ุญ ผตู้ ัดตอ่ ภาพยนตร์ คนทำ� ดนตรปี ระกอบคนเดมิ ๆ

       แต่อย่างไรก็ดี ในหลายต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการสร้างก็จะก้าวมามีบทบาทในการเป็นผู้แสวงหา
ทมี งานทเี่ หมาะสมกบั ภาพยนตร์ โดยเงอ่ื นไขสำ� คญั ของการจดั จา้ งกม็ กั จะเกยี่ วขอ้ งกบั ความเหมาะสมกบั
ตัวภาพยนตร์ และรวมไปถึงเง่ือนไขในด้านของสัญญาบางอย่าง โดยเฉพาะกรณีของการจัดจ้างดารา
อาจมใิ ชค่ วามเหมาะสมของบทภาพยนตรแ์ ตอ่ าจเกยี่ วเนอ่ื งจากสญั ญาของบรษิ ทั ทก่ี ำ� หนดใหร้ ะบตุ วั ดาราก็
เปน็ ได้

       การคัดเลือกทีมงาน ยังต้องสัมพันธ์กับบทบาทหน้าท่ีท่ีจะได้รับอีกด้วย ในที่นี้จะยกตัวอย่าง
บทบาทหน้าทีข่ องทีมงานโดยสังเขป ดังตอ่ ไปน้ี
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49