Page 39 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 39

การบริหารการผลติ ภาพยนตร์ 14-29
       ชนะใจ ต้นไทรทอง และพรสิทธ์ิ พัฒธนานุรักษ์ (2555) ยังตั้งข้อสังเกตด้วยว่า งบประมาณ
การผลิตทั้งหมดจะมากหรือน้อยยังข้ึนอยู่กับองค์ประกอบสามข้อคือ ข้อแรก แนวภาพยนตร์ ข้อที่สอง
ดารานกั แสดง และข้อที่สาม ความต้องการของตลาด
       กรณแี รก แนวภาพยนตร์ หมายถงึ ภาพยนตรบ์ างแนวจะมกี ารลงทนุ ทสี่ งู ตวั อยา่ งเชน่ ภาพยนตร์
ผี ภาพยนตร์ไซไฟท่ีเน้นเทคนิคพิเศษทางภาพ แต่ภาพยนตร์ตลกมีการลงทุนที่ตํ่ากว่า นอกจากน้ัน
ภาพยนตรท์ ถ่ี า่ ยท�ำในตา่ งประเทศก็ตอ้ งใช้งบประมาณที่สงู เชน่ เดยี วกนั
       กรณีที่สอง ดารานักแสดง หากภาพยนตร์คัดเลือกดารานักแสดงที่มีชื่อเสียง ก็จะส่งผลต่อ
งบประมาณท่ีสูงข้ึน บอ่ ยคร้งั กอ็ าจต้องจา่ ยทง้ั ค่าตวั นักแสดงควบคู่กบั เปอรเ์ ซ็นต์รายไดข้ องภาพยนตร์
       และกรณีท่ีสาม ความต้องการของตลาด หมายถึง หากภาพยนตร์ที่ผลิตเป็นภาพยนตร์ที่ตลาด
สนใจมคี วามตอ้ งการสงู กย็ อ่ มสง่ ผลสมั พนั ธก์ บั การลงทนุ ภาพยนตรท์ ส่ี งู ขน้ึ ดว้ ย เพราะผสู้ รา้ งหรอื นกั ลงทนุ
กจ็ ะกลา้ ที่จะลงทุนภาพยนตร์
       เมอื่ เขา้ ใจถงึ งบประมาณในเบอื้ งตน้ แลว้ ลำ� ดบั ถดั ไปคอื การหางบประมาณการลงทุนภาพยนตร์
สามารถจ�ำแนกได้อย่างน้อย สามแนวทาง งบประมาณส่วนตัว งบประมาณจากบริษัท การหาทุน ราย
ละเอยี ด ดังนี้
       แนวทางแรก งบประมาณส่วนตัว
       งบประมาณส่วนตัว เป็นการน�ำงบประมาณสว่ นตัวของผผู้ ลติ ภาพยนตร์ เช่น ผกู้ �ำกับภาพยนตร์
ผู้อ�ำนวยการสร้าง มาใช้ผลิตภาพยนตร์ ถึงแม้ว่า การผลิตภาพยนตร์ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์อาจใช้
งบประมาณสูงประมาณ 25 ลา้ นบาท แต่ทว่า ภาพยนตรบ์ างเรื่องอาจมีงบท่ตี ่ํากวา่ นนั้ ดว้ ยการลดค่าใช้
จ่ายต่างๆ เช่น ค่าทีมงาน ค่าวัสดุอุปกรณ์ การส่ือสารการตลาด การจัดจ�ำหน่ายที่ต้องด�ำเนินการด้วย
ตนเอง ผผู้ ลติ อาจหยิบยมื จากญาตพิ ี่น้อง การก้ยู ืมมาใชเ้ พ่อื การผลติ ภาพยนตร์
       จุดเดน่ ของการน�ำงบประมาณสว่ นตวั มาผลิตภาพยนตร์ คอื ภาพยนตรก์ ลมุ่ นจ้ี ะสามารถผลิตได้
โดยไม่ต้องขึ้นอยู่บนเง่ือนไขความต้องการของนายทุน ภาพยนตร์ในกลุ่มน้ีมักจะเป็นภาพยนตร์ส้ัน
ภาพยนตร์นอกกระแส ภาพยนตรท์ เ่ี นน้ ศลิ ปะ แนวทดลอง เปน็ ตน้
       แต่อย่างไรกต็ าม เนอ่ื งจากงบประมาณการผลิตภาพยนตร์คอ่ นข้างมคี า่ ใชจ้ ่ายทส่ี งู ดังท่กี ล่าวไป
ข้างตน้ ส่งผลให้ผู้ผลิตภาพยนตร์อาจต้องระดมทุนการผลติ ภาพยนตร์ ซง่ึ จะเดนิ ทางไปสู่แนวทางท่สี าม
       แนวทางที่สอง งบประมาณจากบริษัทหรือสตูดิโอภาพยนตร์หรือองค์การต่าง ๆ ซ่ึงมักจะเป็น
แนวทางที่ใช้กนั ส่วนใหญ่
       แนวทางน้ีเป็นแนวทางท่ีเกิดขึ้นจากบริษัทสตูดิโอหรือองค์การต่างๆ ก�ำหนดเป้าหมายการผลิต
ภาพยนตร์ โดยอาจก�ำหนดเป็นแก่นเรื่อง (theme) หรือบางกรณีอาจก�ำหนด “บท” ภาพยนตร์มาให้
ผู้ผลิตภาพยนตร์ หรือผู้ก�ำกับภาพยนตร์และผู้อ�ำนวยการสร้างเป็นผู้รับภาพยนตร์ไปด�ำเนินการผลิต
ภาพยนตร์
       แนวทางงบประมาณจากบริษัทภาพยนตร์นี้มีข้อเด่นตรงท่ีผู้รับงบประมาณจะขอเฉพาะงบด้าน
การผลติ เท่านน้ั ไมต่ อ้ งพะวงในดา้ นการน�ำภาพยนตรไ์ ปเผยแพรจ่ ัดจำ� หนา่ ย ฉาย หรือการจัดการสื่อสาร
การตลาดเพราะงบประมาณส่วนหลังท้ังหมดน้ี บริษัทสตูดิโอหรือองค์การจะเป็นผู้ด�ำเนินการรับผิดชอบ
น่นั ก็หมายความวา่ ผ้ผู ลติ ภาพยนตร์จะทำ� หนา้ ทใี่ นแง่มุมของการผลติ ภาพยนตรอ์ ย่างเดยี ว
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44