Page 41 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 41

การบรหิ ารการผลติ ภาพยนตร์ 14-31
Supports) ซึ่งสนับสนนุ โดยรฐั บาลฝรงั่ เศสแตใ่ หท้ นุ กับนานาประเทศ และเอเชย่ี น ซเี นม่า ฟนั ด์ (Asian
Cinema Fund) ของประเทศเกาหลใี ตท้ ส่ี นบั สนนุ เครอื ขา่ ยภาพยนตรข์ องเอเชยี แตท่ งั้ หมดนนั้ มกั จะเนน้
ภาพยนตรท์ มี่ คี ุณค่าหรือแงม่ มุ ด้านศลิ ปะเป็นหลัก

            (4) การระดมทุนในลักษณะโคฟันดิ้ง (co-funding) จะเน้นการระดมเงินจากการขาย
ภาพยนตร์ล่วงหน้า ส่วนใหญ่จะขายภาพยนตร์ตามเทศกาลภาพยนตร์ระดับนานาชาติ ซ่ึงมักจะมีตลาด
ภาพยนตร์ (film market) นกั ลงทนุ จะมาจากตา่ งประเทศเพอ่ื มารว่ มลงทนุ ในภาพยนตรข์ องแตล่ ะประเทศ
ทจ่ี ะเสนอขายในงานนัน้

            (5) 	บรษิ ัทโฆษณาตา่ งๆ ดว้ ยการนำ� สินค้าหรอื ผลติ ภณั ฑ์แฝงลงในเน้ือหาภาพยนตร์ หรือ
ทเี่ รยี กวา่ โปรดกั เพลซเมนต์ (product placement) แนวทางดงั กลา่ ววางอยบู่ นแนวคดิ เรอ่ื งอทิ ธพิ ลของ
ส่ือ และภาพลักษณส์ นิ คา้ ทีผ่ กู ตดิ กบั ภาพยนตร์ แนวทางนีเ้ ร่มิ ตน้ ขึ้นโดยการนำ� เสนอบทภาพยนตร์ใหก้ ับ
บริษทั โฆษณา และชใ้ี ห้เห็นวา่ ตวั ละครจะใชส้ ินคา้ หรือผลติ ภัณฑ์ใดๆ ในภาพยนตร์ที่จะสง่ ผลทดี่ ตี อ่ ภาพ
ลักษณข์ องสนิ ค้านนั้ ๆ

            (6) 	การระดมทุนจากภาคประชาชน หรอื คราวฟนั ดงิ้ (crowdfunding) เป็นการแสวงหา
งบประมาณการผลติ ภาพยนตรท์ ม่ี าจากภาคประชาชนทรี่ ะดมเงนิ บรจิ าคสำ� หรบั ภาพยนตรท์ ตี่ นเองตอ้ งการ
รบั ชมเปน็ กรณพี เิ ศษ สว่ นหนงึ่ เปน็ ผลมาจากการเตบิ โตของเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็
ทำ� ให้ผู้ผลิตภาพยนตรส์ ามารถน�ำภาพยนตร์ไปขายลว่ งหนา้ ใหก้ บั ผ้บู รโิ ภคได้

       ขณะทกี่ ารขอทนุ สำ� หรบั แนวทางแรกและแนวทางทส่ี องไมส่ ลบั ซบั ซอ้ น แตส่ ำ� หรบั ขน้ั ตอนการขอ
ทนุ ในแนวทสี่ าม การของบประมาณจำ� เปน็ ต้องมีการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการภาพยนตร์ (film project)
เพ่ือเป็นการรับประกนั วา่ เนอ้ื หาภาพยนตร์ท่ีจะนำ� เสนอนัน้ คืออะไร กลมุ่ เป้าหมายคืออะไร เพือ่ เปน็ การ
ตอกยาํ้ ใหผ้ ใู้ ห้ทุนหรอื นักลงทนุ หรือนายทนุ ให้ความสนใจและเช่ือมน่ั ทีจ่ ะลงทุน

       ลยี องส์ (Lyons, 2012) ไดเ้ สนอการจดั ทำ� งบประมาณเพอื่ เสนอโครงการภาพยนตร์ โดยอาจสรปุ
เปน็ เอกสาร หรอื เรียกวา่ “แผนการลงทุน” (business plan) เพื่อใหก้ บั แหล่งทนุ โดยเฉพาะในเชงิ ธรุ กิจ
เอกสารดงั กล่าวควรประกอบไปด้วย ดงั ตอ่ ไปน้ี

       1. 	ค�ำหรือขอ้ ความทโ่ี ดดเด่น เพื่อทจี่ ะดงึ ดูดนักลงทุนใหส้ นใจตัวภาพยนตร์ทจี่ ะผลิต ขอ้ ความน้ี
เสมือนการสรุปสน้ั ๆ ให้เหน็ เอกลกั ษณข์ องภาพยนตรห์ รือจุดขายของภาพยนตร์

       2. 	ขอ้ เสนอดา้ นการลงทนุ จะเน้นงบประมาณทผ่ี ผู้ ลติ ต้องการ และควรระบใุ หเ้ ห็นวา่ งบที่ใชน้ ั้น
เปน็ งบประมาณในสว่ นใด การผลติ ระหวา่ ง หลงั การผลติ การเผยแพรจ่ ดั จำ� หนา่ ยภาพยนตร์ ยงั ตอ้ งระบุ
ใหเ้ หน็ วา่ ภาพยนตรเ์ รอ่ื งนคี้ าดการณว์ า่ จะไดผ้ ลกำ� ไรตอบแทนเทา่ ไร และในทางกลบั กนั เอกสารนน้ั กค็ วร
ระบุถงึ ความเสยี่ งท่ีจะไดร้ ับ

       นอกจากน้ัน อาจต้องระบุให้เห็นด้วยว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้จะมีรายรับจากช่องทางใดได้บ้าง อัน
นอกเหนอื จากการฉายในโรงภาพยนตร์ เชน่ การขายลขิ สทิ ธ์ทิ างโทรทัศน์ การผลติ ดีวีดี หรือแม้กระทั่ง
การใชโ้ ปรดกั เพลซเมนต์ (product placement) ท้งั หมดน้ี มกั จะไดม้ าจากการประมาณการ

       3. 	วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการผลติ ภาพยนตรท์ ผี่ สู้ รา้ งตอ้ งการ เพอื่ ทำ� ใหผ้ ลู้ งทนุ เขา้ ใจและตดั สนิ ใจ
สนบั สนนุ ทนุ นอกจากนนั้ ยงั อาจตอ้ งระบถุ งึ ถอ้ ยแถลงของบรษิ ทั หรอื ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ (mission state-
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46