Page 37 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 37

การบรหิ ารการผลติ ภาพยนตร์ 14-27
       ข้ันตอนท่ีสี่ การพัฒนาบทถ่ายท�ำ (shooting script)
       ถึงแม้ว่า บทภาพยนตร์จะสมบูรณ์แล้วก็ตาม ภาพยนตร์ก็ยังไม่อาจผลิตข้ึนมาได้จ�ำเป็นต้องมี
การพัฒนาบทอีกขั้นหนึ่ง ซ่ึงมักจะเป็นหน้าที่ของผู้ก�ำกับภาพยนตร์ร่วมกับผู้ก�ำกับภาพ (director of
photography) เพื่อท�ำให้บทภาพยนตร์ท่ีมแี ต่ตัวอกั ษรสามารถกลายเป็นภาพทอี่ ย่างน้อยคนในกองถา่ ย
มคี วามเหน็ สอดคลอ้ งกัน เราเรียกวา่ บทถา่ ยท�ำ หรอื ชูต้ ติ้ง สคริปต์ (shooting script)
       สว่ นใหญแ่ ลว้ ขน้ั ตอนนมี้ กั จะเปน็ ขนั้ ตอนในชว่ งกอ่ นการถา่ ยท�ำ ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตรแ์ ละผกู้ ำ� กบั ภาพ
จะลงมืออ่านและตีความบทเพื่อจะท�ำให้กลายเป็นบทถ่ายท�ำที่จะระบุให้เห็นถึงภาพ เทคนิคทางภาพที่
ต้องการ เชน่ ขนาดภาพ มมุ กลอ้ ง การเคล่อื นไหวของการตัดต่อ แลว้ ไล่เรยี งลำ� ดับการถา่ ยท�ำจากฉาก
แรกจนฉากสดุ ทา้ ย
       ในบางกรณบี างฉากทสี่ �ำคญั มากๆ ตัวอยา่ งเชน่ หากถา่ ยท�ำฉากการต่อสู้กนั นอกโลก ก็อาจตอ้ ง
ใชก้ ารวาดภาพเป็นสตอรีบ่ อรด์ (story board) เพือ่ ก�ำหนด “ภาพ” ที่ต้องการใหต้ รงกัน อันจะท�ำให้ท้งั
ผกู้ ำ� กับภาพ นกั แสดง และทีมงานได้เขา้ ใจถงึ ภาพทตี่ ้องการจะน�ำเสนอไดอ้ กี ดว้ ย
       บทถา่ ยทำ� (shooting script) จะมปี ระโยชนอ์ ยา่ งมากสำ� หรบั การถา่ ยทำ� ภาพยนตรแ์ ละจะนำ� ไป
สกู่ ารแยกบท (breakdown script) และการวางแผนการถา่ ยทำ� ในขน้ั ตอนการถา่ ยทำ� หรอื กองถา่ ย ซงึ่ ใน
ส่วนนผ้ี ูช้ ว่ ยผกู้ �ำกบั ภาพยนตร์จะเปน็ ผู้รบั ผิดชอบ

2. การหางบประมาณ

       ภาพยนตร์จะไมส่ ามารถผลติ ขึ้นได้หากขาดซง่ึ งบประมาณการผลติ ภาพยนตร์ ดังน้นั อาจถือได้
วา่ งบประมาณเปน็ หน่งึ ในหวั ใจของการผลิตภาพยนตร์ ในทศวรรษทผ่ี ่านมา 2550 งบประมาณการผลติ
ภาพยนตร์หน่งึ เรอ่ื งในอตุ สาหกรรมภาพยนตร์จะคดิ เป็นประมาณ 25 ลา้ นบาท ครงึ่ หนึ่งเป็นงบประมาณ
ดา้ นการผลิตและอกี ครง่ึ หนงึ่ เป็นงบประมาณการสือ่ สารการตลาด งบประมาณดังกลา่ วถือไดว้ า่ มจี �ำนวน
คอ่ นขา้ งสงู และอาจถือไดว้ า่ ภาพยนตร์เปน็ ธรุ กิจทีม่ ีความเสยี่ งสงู กล่าวคอื ภาพยนตร์มกี ารลงทุนท่ีสูง
และอาจได้ก�ำไรจ�ำนวนมากหากภาพยนตร์เรื่องน้ันสามารถเข้าตาตรึงใจผู้ชม และในทางตรงกันข้าม
ภาพยนตรก์ อ็ าจลม้ เหลวไดเ้ ชน่ เดยี วกนั สำ� หรบั ภาพยนตรส์ น้ั ภาพยนตรน์ อกกระแส งบประมาณการลงทนุ
จะต่าํ กวา่ น้ี

       กอ่ นทจี่ ะกา้ วไปสกู่ ารหางบประมาณการผลติ ภาพยนตรจ์ ำ� เปน็ ตอ้ งเขา้ ใจถงึ งบประมาณการดำ� เนนิ
งานการผลิตภาพยนตร์ว่า ควรจะมีก่ีส่วน ในเบื้องต้น ชนะใจ ต้นไทรทอง และพรสิทธ์ิ พัฒธนานุรักษ์
(2555) เสนอวา่ ควรจ�ำแนกได้ดงั ต่อไปนี้

       1. ค่าเรื่องและค่าจัดท�ำบทภาพยนตร์ ในส่วนน้ีจะมีทั้งค่าลิขสิทธิ์ รวมไปจนถึงค่าใช้จ่ายในการ
ค้นคว้าข้อมูลเพ่ือการน�ำผลิตเป็นบทภาพยนตร์ ค่าตัวของผู้เขียนบท ผู้พัฒนาบทหรือสคริปต์ดอกเตอร์
(script doctor)

       2. 	คา่ ทมี งานผลติ ภาพยนตร์ จะเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยสำ� หรบั ตำ� แหนง่ หลกั ๆ ในการผลติ ภาพยนตร์ ตง้ั แต่
ผอู้ ำ� นวยการสรา้ ง ไลนโ์ ปรดวิ เซอร์ ผจู้ ดั การกองถา่ ย ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ ผชู้ ว่ ยผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ ผกู้ ำ� กบั ภาพ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42