Page 54 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 54
14-44 การผลติ ภาพยนตรเ์ บอ้ื งต้น
2. การตัดต่อภาพยนตร์
ในอดีตการด�ำเนินการจะเร่ิมต้นจากฟิล์มที่ส่งมาจากกองถ่ายและล้างฟิล์ม แต่ในปัจจุบันข้ันตอน
น้ีจะหดหายไปเพราะการบันทึกด้วยระบบดิจิทัลท�ำให้ย่นระยะเวลาในการตัดต่อ ผู้ที่จะท�ำหน้าท่ีตัดต่อจะ
เป็นได้ท้ังผู้ตัดต่อหรือผู้ล�ำดับภาพและเสียงภาพยนตร์ (editor) หรือบางครั้งผู้ก�ำกับภาพยนตร์จะเป็น
ผู้ตัดต่อด้วยตัวเอง แต่หากเป็นผู้ตัดต่อภาพยนตร์จะต้องเข้าใจภาพรวมของภาพยนตร์ก่อน ซ่ึงในจุดน้ี
ผู้ก�ำกับภาพยนตร์จะต้องพูดคุยและการให้อ่านบท ต่อจากน้ันผู้ก�ำกับภาพยนตร์จะเปิดโอกาสให้ได้คิด
สรา้ งสรรคแ์ ละตดั ตอ่ ตามจนิ ตนาการของผตู้ ดั ตอ่ กอ่ น และเมอ่ื ตดั แลว้ เสรจ็ ในระดบั หนง่ึ ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์
จะคอ่ ยก้าวเขา้ มามบี ทบาทในการให้ข้อคดิ เห็นเพิ่มเตมิ
นอกเหนอื จากการตดั ตอ่ ภาพยนตรแ์ ลว้ หนา้ ทอี่ กี ประการคอื การผสมเสยี ง การผสมดนตรี ผสม
เพลงประกอบ ผสมเทคนคิ พเิ ศษทางภาพเขา้ ไวใ้ นภาพยนตร์ ซงึ่ แตล่ ะสว่ นนนั้ จะมศี ลิ ปนิ หรอื ผทู้ ท่ี ำ� หนา้ ท่ี
ด�ำเนนิ การไว้แล้ว และน�ำมาสู่การตัดต่อข้นั สดุ ทา้ ย
หากพิจารณาเฉพาะการตัดต่อ จะพบว่า มขี ั้นตอนดังน้ี
ขั้นตอนแรก การตัดต่อเพื่อเรียบเรียงเรื่องราว หรอื เรียกว่า แอซเซมบลี (assembly) เป็นการ
นำ� ไฟลด์ จิ ทิ ลั มาเรยี งใหเ้ ปน็ เรอ่ื ง โดยจะน�ำขอ้ มลู ทจ่ี ดโนต้ เอาไวว้ า่ ผกู้ �ำกบั ภาพยนตรไ์ ดเ้ ลอื กภาพใด แลว้
เรยี งลำ� ดบั เทคนคิ การเรยี งลำ� ดบั นนั้ กจ็ ะขนึ้ อยกู่ บั ศลิ ปะของผตู้ ดั ตอ่ แตล่ ะคน นอกจากนน้ั ยงั ตอ้ งเชอ่ื มภาพ
กบั เสียงใหส้ ัมพนั ธ์กันด้วย
ภายหลังจากการเรียงล�ำดับแล้ว จะตดั ตอ่ อกี ครง้ั แบบหยาบๆ เรียกว่า รัฟ คัท (rough cut) แต่
จะเป็นภาพยนตร์ทย่ี ังไมส่ มบูรณเ์ พราะอาจขาดภาพบางภาพ เสียงดนตรี เสยี งเพลงประกอบ และอืน่ ๆ
บทบาทของผูต้ ดั ต่อ นอกจากเรียงภาพและตัดตอ่ หยาบๆ แล้ว ยงั อาจตอ้ งท�ำหนา้ ท่ตี ั้งข้อสงั เกต
ต่อภาพยนตรท์ ่ตี นเองตดั ด้วยว่า ภาพใดท่ขี าดหายไป ไมส่ มบรู ณ์ ควรจะถ่ายใหม่หรอื ไม่ หรือในฉากใด
ควรจะมเี สยี งประกอบใดท่ีจะท�ำใหภ้ าพยนตร์มพี ลงั มากขน้ึ
ข้ันตอนท่ีสอง การผสมเสียง ดนตรี เพลงประกอบ เสียงพิเศษ เสียงบรรยายหรือเสียงพากย์
เทคนิคพิเศษทางภาพ ข้ันตอนนี้จะอยู่หลังจากการที่ศิลปินแต่ละฝ่ายได้ท�ำงานในการผลิตเสียง ภาพ
เทคนิคพิเศษต่างๆ ไว้แล้ว ผู้ตัดต่อภาพยนตร์ก็จะท�ำหน้าท่ีน�ำทุกอย่างเข้ามาผสมกันในภาพยนตร์ โดย
อาจต้องค�ำนึงระบบการฉายทัง้ จอภาพและเสยี งด้วยเพอ่ื ให้ภาพยนตร์เกดิ ความสมจริง
ณ จดุ น้ี ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตรร์ วมถงึ ผอู้ ำ� นวยการสรา้ งและนายทนุ กจ็ ะเขา้ มามบี ทบาทเขา้ มาพจิ ารณา
ภาพยนตร์และอาจให้ปรับแก้ไขเพ่ิมเติม ท้ังกรณีของการดึงดูดผู้ชม การไม่ให้ละเมิดต่อศีลธรรมจรรยา
และอนื่ ๆ นอกจากนน้ั ในกรณขี องภาพยนตรท์ เ่ี นน้ กลมุ่ เปา้ หมายทางการตลาดมกั จะนำ� ภาพยนตรไ์ ปทดลอง
ฉายกอ่ น (test screening) เพอ่ื ใหผ้ ชู้ มไดใ้ หค้ วามคดิ เหน็ วพิ ากษว์ จิ ารณแ์ ลว้ จงึ นำ� มาดดั แปลงแตง่ เตมิ อกี
ครง้ั
เมอ่ื ทกุ ฝา่ ยเหน็ ตรงกนั แลว้ กจ็ ะนำ� มาสขู่ น้ั ตอนทส่ี าม คอื การตดั ตอ่ ครง้ั สดุ ทา้ ย หรอื เรยี กวา่ ไฟน์ คทั
(fine cut) และแก้สี (colour grading) เพราะในการถ่ายท�ำท่อี าจตา่ งเวลาสถานทท่ี �ำให้สไี มเ่ ท่ากนั
อนง่ึ ในหลายครงั้ การตดั ตอ่ อาจไมไ่ ดเ้ ปน็ ไปตามความตอ้ งการของผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ เพราะตอ้ ง
ประนีประนอมระหว่างความต้องการของนักลงทุน ผู้ชม จึงอาจท�ำให้ผู้ก�ำกับภาพยนตร์อาจเลือกตัด
ภาพยนตร์ด้วยตนเอง ซ่งึ เรยี กวา่ ไดเรคเตอรค์ ทั (director’s cut)