Page 58 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 58
14-48 การผลติ ภาพยนตร์เบอ้ื งตน้
อยา่ งไรกต็ าม เมอ่ื เทยี บกบั การจดั จำ� หนา่ ยผา่ นสตดู โิ อและตวั แทนจดั จำ� หนา่ ยแลว้ การจดั จำ� หนา่ ย
ด้วยตนเอง อาจมีปัญหาในด้านการต่อรอง เน่ืองจากทรัพยากรหรือตัวภาพยนตร์มีจ�ำนวนน้อย โรงฉาย
ภาพยนตร์ หรอื แมก้ ระท่งั เทศกาลภาพยนตร์ก็อาจไมไ่ ดใ้ ห้ความสนใจเทา่ ไร
สำ� หรับขนั้ ตอนการจัดจำ� หน่ายอาจแบ่งได้ ดงั นี้
1. การวิเคราะหภ์ าพยนตร์ คือ การวิเคราะหจ์ ดุ เด่นของภาพยนตร์ดงั ทกี่ ลา่ วไปข้างตน้ เพ่อื เปา้
หมายการวางแผนการตลาด ภาพยนตรเ์ รอ่ื งนใี้ ครคอื กลมุ่ เปา้ หมาย ควรฉายเมอ่ื ไร สถานทใี่ ด รวมถงึ อาจ
ตอ้ งวเิ คราะหไ์ ปถงึ ว่า ภาพยนตรน์ คี้ วรฉายวงกวา้ งหรือวงแคบหรือในโรงภาพยนตร์ศิลปะเทา่ นั้น จำ� นวน
โรงท่ีจะฉายมีเท่าไร การวิเคราะห์ภาพยนตร์จะช่วยท�ำให้สามารถวางแผนการตลาดได้ดี และที่ส�ำคัญคือ
การกำ� หนดราคาของภาพยนตรไ์ ด้ เพราะภาพยนตรแ์ ตล่ ะเรอ่ื งจะมรี าคาไมเ่ ทา่ กนั ซง่ึ ขน้ึ อยกู่ บั ตวั ภาพยนตร์
การลงทุน และความต้องการการรบั ชมภาพยนตร์
2. การซื้อและขายลิขสิทธิ์ภาพยนตร์ เน่ืองจากภาพยนตร์เป็นสินค้าลักษณะพิเศษ คือ ใช้แล้ว
ไมห่ มดไป ทำ� ใหก้ ารขายสนิ คา้ นามภาพยนตร์ จะมลี กั ษณะเพยี งการขายลขิ สทิ ธห์ิ รอื ใหด้ ใู หช้ มเฉพาะชว่ ง
เวลาเทา่ น้นั ทั้งกรณขี องโรงภาพยนตรแ์ ละแม้กระทงั่ การเผยแพรใ่ นครวั เรอื น นอกจากน้ัน ภาพยนตร์ยงั
เปน็ สนิ ค้าที่มีกฎหมายดา้ นลิขสิทธ์ทิ ก่ี �ำหนดไว้ การซื้อขายภาพยนตรจ์ งึ เปน็ เพียงการขายลิขสิทธิ์ โดยจะ
ต้องมกี ารระบใุ ห้เห็นชดั ถึงระยะเวลาการขาย หากหมดไปแล้วก็ไม่สามารถนำ� มาฉายได้
3. การวางโปรแกรมการฉาย เปน็ โจทยส์ ำ� คญั ของผอู้ ำ� นวยการสรา้ งฝา่ ยบรหิ ารและผอู้ ำ� นวยการ
สร้าง ตอ้ งวเิ คราะหต์ ลาดช่วงเวลาทีจ่ ะฉายวา่ ภาพยนตรท์ ี่จะลงโรงน้นั มีภาพยนตร์ใดท่จี ะเข้าฉาย หาก
มกี จ็ ะตอ้ งพบกบั ความเสย่ี ง รวมถงึ ในชว่ งเวลาใดทเี่ หมาะกบั ภาพยนตร์ เชน่ ในกรณขี องภาพยนตรส์ ยอง
ขวญั อาจตอ้ งเหมาะกบั ชว่ งเทศกาลฮลั โลวนี ภาพยนตรว์ ยั รนุ่ กค็ วรเลอื กฉายในชว่ งเวลาเทศกาลปดิ เทอม
4. การสอ่ื สารการตลาด เปน็ หวั ใจสำ� คญั สำ� หรบั การกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การรบั ชมภาพยนตร์ ซงึ่ จะตอ้ ง
ท�ำทง้ั ในช่วงระหวา่ งการผลิต กอ่ นการฉาย ระหว่างการฉาย และแมก้ ระทง่ั หลังการฉายภาพยนตร์ เพื่อ
จะท�ำให้ผ้บู รโิ ภคได้จดจ�ำ อยากเข้าชม และซอ้ื แผ่นดีวีดี (รายละเอยี ดการด�ำเนนิ การสือ่ สารการตลาดจะ
อธบิ ายในหวั ขอ้ ถัดไป)
5. การเกบ็ รกั ษาอปุ กรณบ์ นั ทกึ ฟลิ ม์ เมอื่ ซอ้ื ขายลขิ สทิ ธแ์ิ ลว้ ผจู้ ดั จำ� หนา่ ยจะตอ้ งทำ� หนา้ ทส่ี ำ� เนา
ภาพยนตร์และจัดเก็บด้วยอุปกรณ์บันทึกภาพยนตร์ ในปัจจุบันมักจะใช้อุปกรณ์ท่ีเรียกว่าดิจิทัล ซีนิม่า
แพก็ เกจ (digital cinema package, dcp) มีลักษณะเปน็ ฮารด์ ดสิ ก์ขนาดเล็กแทนการสง่ ฟลิ ์ม อุปกรณ์
ดังกลา่ วจะมรี หัสก�ำหนดการฉายภาพยนตร์ ชว่ งเวลาการฉาย จ�ำนวนคร้งั เพอ่ื ป้องกันการละเมิดลิขสทิ ธ์ิ
หลงั จากน้นั ก็เกบ็ รกั ษาและทำ� บัญชภี าพยนตร์
6. การจดั ส่งอปุ กรณบ์ นั ทึกฟิลม์ ไปยงั โรงภาพยนตร์
7. การตรวจสอบ เกบ็ เงนิ และเกบ็ อปุ กรณบ์ นั ทกึ ฟลิ ม์ ผจู้ ดั จ�ำหนา่ ยจะทำ� หนา้ ทต่ี รวจสอบจำ� นวน
เงินกบั โรงภาพยนตร์ ในกรณีไทยมักจะจดั แบง่ ในลกั ษณะโรงภาพยนตร์ 50 ตัวแทนจัดจ�ำหน่าย 50 และ
หากเป็นภาพยนตร์ศิลปะโรงภาพยนตร์อาจจะได้ส่วนแบ่งมากข้ึนเป็น 60 : 40 เนื่องจากมีความเส่ียงใน
การฉายสูงกวา่ โดยผู้จดั จำ� หน่ายจะส่งเชค็ เกอร์ (checker) เพอื่ ตรวจตราเรอ่ื งเงิน