Page 65 - ทักษะชีวิต
P. 65
การจดั การอารมณ์ ความเครยี ดและปญั หาทางอารมณ์ 6-55
จากท่ีกล่าวมาเป็นการช่วยเหลือในเบื้องต้นผ่านการพูดคุยและรับฟัง ท้ังน้ีหากพบว่าวิธีการ
ดงั กล่าวยังไม่สามารถแกป้ ัญหาทางจิตใจให้หมดไปไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ หรอื พบวา่ ปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ นั้นยากเกิน
จะรับมือ ก็ควรขอความช่วยเหลือจากผู้เช่ียวชาญทางด้านสุขภาพจิต โดยจะน�ำเสนอรายละเอียดในส่วน
ถดั ไป
3. หน่วยงานท่ีให้ความช่วยเหลือ
ปจั จบุ นั มหี นว่ ยงานทง้ั ของภาครฐั และเอกชนทใี่ หบ้ รกิ ารสำ� หรบั ชว่ ยเหลอื ผทู้ ม่ี ปี ญั หาทางอารมณ์
และสุขภาพจิต ท้ังในรูปแบบของบริการทางการแพทย์ท่ีมีการประเมินอาการ วินิจฉัย และให้การบ�ำบัด
รกั ษา บรกิ ารปรกึ ษาเชงิ จติ วทิ ยาทง้ั ในรปู แบบการปรกึ ษารายบคุ คลและรายกลมุ่ การปรกึ ษาผา่ นชอ่ งทาง
ออนไลนแ์ ละทางโทรศัพท์
3.1 โรงพยาบาล ประกอบด้วย โรงพยาบาลศูนย์สังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลรัฐสังกัดมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลสังกัดกรมสุขภาพจิต และโรงพยาบาลท่ัวประเทศ จะมี
หนว่ ยงานทีท่ ำ� หนา้ ที่ในการดแู ลทางด้านสขุ ภาพจติ ทงั้ ของเดก็ และผูใ้ หญ่ในแตล่ ะภูมภิ าค เช่น ภาคเหนือ
ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลมหาราชเชยี งใหม่ โรงพยาบาลสวนปรงุ (จงั หวดั เชยี งใหม)่ ภาคกลาง ไดแ้ ก่ โรงพยาบาล
จฬุ าลงกรณ์ (กรงุ เทพมหานคร) โรงพยาบาลศรธี ญั ญา (จงั หวดั นนทบรุ )ี ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดแ้ ก่
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ (จังหวัดขอนแก่น) โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ (จังหวัด
นครราชสมี า) และภาคใต้ ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ (จงั หวดั สงขลา) โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
สถาบนั สขุ ภาพจติ เดก็ และวยั รนุ่ ภาคใต้ (จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ าน)ี และโรงพยาบาลเอกชนซง่ึ สามารถสอบถาม
ไดท้ างประชาสัมพนั ธ์ของโรงพยาบาล
3.2 การปรึกษาผ่านทางโทรศัพท์ เช่น สายด่วนสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข โทร 1323
ตลอด 24 ชว่ั โมง โดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ย
3.3 ศูนย์ให้บริการปรึกษาทางจิตวิทยา ในปัจจุบันมหาวิทยาลัยทงั้ ภาครฐั และเอกชนหลายแห่ง
มกี ารจดั ตงั้ หนว่ ยงานสำ� หรับใหบ้ รกิ ารปรกึ ษาเชงิ จิตวิทยาภายในมหาวิทยาลัย เพือ่ ให้บรกิ ารกับนิสติ และ
นกั ศึกษาไดม้ แี หลง่ ให้ความช่วยเหลอื ในการจดั การปญั หาท้ังในดา้ นการเรยี น เรือ่ งส่วนตัว และจติ ใจ
นอกจากนย้ี งั มศี นู ยใ์ หค้ ำ� ปรกึ ษาเอกชนโดยจติ แพทยแ์ ละนกั จติ วทิ ยาทมี่ ใี หบ้ รกิ ารกบั บคุ คลทว่ั ไป
โดยมีการให้บริการหลายรูปแบบ เช่น การให้ค�ำปรึกษาทางโทรศัพท์ การปรึกษาผ่านอินเทอร์เน็ต
การปรกึ ษาเปน็ รายกลมุ่ และรายบคุ คลโดยนกั จติ วทิ ยา แอปพลเิ คชนั สำ� หรบั ใหก้ ารปรกึ ษา ฯลฯ ทง้ั น้ี ควร
พิจารณาอย่างรอบคอบและขอค�ำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญท่ีน่าเช่ือถือเท่าน้ัน เพ่ือให้ได้รับความช่วยเหลือ
ดว้ ยกระบวนการทถ่ี กู ตอ้ ง มีประสทิ ธภิ าพเพ่อื ใหส้ ามารถจัดการปัญหาทางอารมณแ์ ละสุขภาพจิตให้หมด
ไปและดำ� เนนิ ชวี ิตอย่างมสี ขุ ภาวะอกี ครั้ง