Page 64 - ทักษะชีวิต
P. 64
6-54 ทักษะชวี ติ
จิตใจของบุคคล แม้ว่าการฟังจะเป็นเร่ืองธรรมดาท่ีทุกคนปฏิบัติจนคุ้นเคย แต่การฟังอย่างใส่ใจน้ันไม่ใช่
เพยี งแคก่ ารฟงั เพอื่ ใหไ้ ดย้ นิ เสยี งหรอื แคจ่ ดจำ� เรอ่ื งราวเทา่ นนั้ แตต่ อ้ งเปน็ การฟงั เพอื่ ทำ� ความเขา้ ใจความคดิ
อารมณ์ ความรู้สกึ ของผ้รู บั การปรึกษาและสามารถจับประเด็นส�ำคญั เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจความหมายท่อี ยภู่ ายใน
ค�ำพูดและกิริยาท่าทางท่ีแสดงออกมา และสะท้อนให้ผู้รับการปรึกษาเข้าใจตนเองและหาแนวทางในการ
จดั การปญั หาได้อยา่ งเหมาะสม การฟังอย่างใสใ่ จสามารถปฏิบัตไิ ด้ดังนี้
1) การฟังด้วยความตั้งใจ คิดตามเพื่อจับใจความในส่ิงที่ผู้ที่มาขอปรึกษาก�ำลังเล่าออกมา
ในประเดน็ ตา่ งๆ โดยไมแ่ ทรก ขดั จงั หวะ เปลย่ี นเรื่องทก่ี �ำลงั สนทนา และไมร่ บี ตคี วาม ตดั สิน หรือสรุป
เรอ่ื งราวกอ่ นท่ผี ูร้ ับการปรึกษาจะเลา่ เรอ่ื งจบ
2) การสังเกตบริบทของการส่ือสารท้ังหมดไม่ว่าจะเป็นสีหน้า แววตา ความหนักเบาของ
นํ้าเสียง และการแสดงภาษากาย เพื่อผู้ให้การปรึกษาสามารถท�ำความเข้าใจในความหมายท่ีผู้รับการ
ปรกึ ษากำ� ลังสือ่ สารและเข้าถงึ ความรู้สึกภายในจติ ใจที่ถา่ ยทอดผ่านออกมาทางค�ำพูด
3) การแสดงออกเพ่ือให้ผู้พูดรับรู้ถึงการฟังอย่างใส่ใจด้วยการสบตา มองประสานสายตา
การพยักหน้า การแสดงออกทางสีหนา้ ให้สอดคล้องกบั บรบิ ทของการสนทนา การสัมผสั เช่น การแตะมือ
ลบู ไหล่ แตะหลัง อย่างพอประมาณและเหมาะสมเพ่อื แสดงออกถงึ ความเห็นใจและร่วมเขา้ ใจ
4) การพูดตอบรับสั้นๆ หรือด้วยการถามค�ำถามปลายเปิดเพ่ือสอบถามข้อมูลเพ่ิมเติม
เพื่อบอกให้ผู้รับการปรึกษาเข้าใจในประเด็นสำ� คัญที่ก�ำลังพูดอยู่และทราบว่ามีผู้ที่ฟังอย่างเข้าใจและยังคง
ตดิ ตามฟังเรอื่ งราวอยู่
2.3 การสะท้อนความรู้สึก เปน็ วธิ กี ารรบั รคู้ วามรสู้ กึ และอารมณต์ า่ งๆ ของผรู้ บั การปรกึ ษา โดย
การนำ� ขอ้ ความ ค�ำพดู มาตคี วามหมายในเชงิ ของความรู้สึกทอี่ ยภู่ ายในเนือ้ หานนั้ และใหข้ ้อมลู ป้อนกลับ
อยา่ งชดั เจนโดยเนน้ ถงึ ความรสู้ กึ มากกวา่ เนอ้ื หาของคำ� พดู เพอื่ ชว่ ยใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษาไดร้ บั รแู้ ละเขา้ ใจถงึ
ความรู้สึกของตนเอง ตัวอย่างเชน่
ผู้รับการปรึกษา: แม้ว่าวิชาทักษะชีวิตจะเป็นวิชาที่ฉันชอบเน้ือหามากท่ีสุด แต่ฉันก็อดนึกถึง
การสอบในเทอมน้ไี ม่ได้ วา่ ฉันจะอา่ นหนงั สือทนั เวลาและสอบผ่านในการสอบครงั้ เดียว
ผู้ใหก้ ารปรกึ ษา: คณุ รูส้ ึกกงั วลและไม่มนั่ ใจกบั การสอบ แม้จะเปน็ วชิ าที่ชอบก็ตาม
2.4 การทวนซํ้า การพดู ซาํ้ ในเรอื่ งราวทผ่ี รู้ บั บรกิ ารพดู ออกมาโดยพดู ซาํ้ ในประโยคดว้ ยถอ้ ยคำ� ท่ี
น้อยลงแตย่ งั คงสาระสำ� คัญของความหมายและความรสู้ ึกไว้ตามเดมิ เพื่อแสดงถึงความใสใ่ จ ความเข้าใจ
และเปน็ การยำ้� ใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษาเขา้ ใจสงิ่ ทต่ี วั เองพดู ยง่ิ ขน้ึ รวมทง้ั ยงั เปน็ การตรวจสอบความเขา้ ใจทตี่ รงกนั
ระหว่างผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษา หลังจากทวนซ้ําจึงควรสังเกตการตอบสนองของผู้รับ
การปรกึ ษา การทวนซาํ้ สามารถทำ� ไดห้ ลายลกั ษณะ เชน่ ทวนซา้ํ คำ� พดู ทงั้ หมดและเปลย่ี นเฉพาะสรรพนาม
การทวนซ้ําในประเด็นสำ� คญั ตวั อยา่ งเช่น
ผู้รับการปรึกษา: ฉันไม่เข้าใจหัวหน้างานของฉันเลยจริงๆ ตอนเช้าส่ังให้ฉันหยุดท�ำงานเอกสาร
แลว้ ไปท�ำงานอีกอยา่ งหน่งึ กอ่ น แตก่ ็มาตำ� หนิทฉ่ี ันทำ� งานเอกสารไมเ่ สร็จต้ังแต่ก่อนเท่ยี ง
ผ้ใู หก้ ารปรกึ ษา: คุณรู้สกึ ไมเ่ ข้าใจหัวหน้าของคุณ ที่เปน็ คนสัง่ ใหค้ ณุ หยดุ ทำ� งานนัน้ เอง แตก่ ลับ
มาตำ� หนคิ ุณในภายหลัง