Page 13 - คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง
P. 13
(11)
สำหรับที่มาของ คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม นั้น
นายฉ นั ท ชิ ย์ กระแ สสนิ ธุ์ ไดเ้ ขยี นเลา่ ไวใ้ นค ำนำใน แถลงงานป ระวตั ศิ าสตร์
เอกสารโบราณคดี ฉบับปีท ี่ ๓, เล่ม ๑, เดือนมกราคม ๒๕๑๒ มีความ
ตอนหนึ่งว่า
....สมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน เมื่อ
พุทธศักราช ๒๔๗๕ กรมราชเลขาธิการในพระองค์ซึ่งมีกรมขึ้นอยู่
๓ กรม ไดแ้ ก่ กรมบ ญั ชาการ กรมราชเลขานกุ ารในพ ระองค์ กรมอาลกั ษณ์
มเี อกสารห ลายห ลากช นดิ เก็บรกั ษาไวม้ ากมาย และเก็บรกั ษาม าต ั้งแตต่ ้น
ทุกๆ รัชกาล เอกสารลางเรื่องเก่าถึงสมัยอยุธยา สมัยธนบุรีและต้น
รตั นโกสินทร์ เมื่อไดป้ ระกาศยบุ กรมราชเลขานุการในพ ระองคเ์ มือ่ วันท ี่
๑๒ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๗๕ งานในหน้าที่กรมราชเลขาธิการใน
พระองค์ จงึ โอนม าเปน็ ข องกรมเลขาธกิ ารค ณะรฐั มนตรี กรมเลขาธกิ าร
คณะรัฐมนตรีได้รับมอบเอกสารมาเก็บรักษาไว้เฉพาะส มุดไทย (ข่อย)
ประมาณ ๑๒๙๖๙ สมุดไทยใบลาน ๒๘๔ ผูก แฟ้ม ๔๔๐ แฟ้ม ฯลฯ
ต่อมากรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้ส่งเอกสารดังกล่าวไปให้กรม
ศิลปากรเก็บรักษา จึงได้พบ “คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม”
รวมมาในกลุ่มเอกสารที่ส่งมาให้กรมศิลปากรนั้นด้วย กรรมการจัด
พิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ท่านหนึ่งคือ คุณปรีดา ศรีชลาลัย
อดีตข้าราชการกรมศิลปากรได้อ่านพบ จึงได้เสนอเข้าพิจารณาในที่
ประชมุ ค ณะกรรมการ ทปี่ ระชมุ ลงม ตใิหพ้ มิ พ์ได้ เพือ่ รกั ษาไวซ้ ึง่ ป ระวตั ิ
ภูมิสถานกรุงพระนครศรีอยุธยาทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์โดย
อนุมัติให้นำลางต อนท ี่ย ังไม่เคยพ ิมพ์ม าล งพิมพ์.....
ถ้า คำให้การ มีความหมายว่า “บันทึกเรื่องจากความทรงจำ”
อย่างเช่นท ี่ใชก้ ับกรณี คำใหก้ ารช าวก รงุ เกา่ หรือ คำใหก้ ารข นุ ห ลวงห าวดั