Page 17 - คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง
P. 17
(15)
เรื่องราวในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและสมเด็จพระเพทราชาปะปน
อยู่บ้าง แต่เหตุการณ์ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจนถึงช่วงต้น
รัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศน์) มีรายละเอียด
ของเนื้อเรื่องที่น ่าส นใจม าก
บริบทข องเนื้อเรื่องแ บ่งอ อกเป็น ๔ ส่วน คือ
ส่วนท ี่ ๑ ว่าด ้วยภ ูมิสัณฐานข องพ ระนครศรีอยุธยา
ส่วนที่ ๒ ว่าด้วยบันทึกเกี่ยวกับวัฒนธรรมความเชื่อ
ส่วนที่ ๓ ว่าด ้วยต ำราส อนเสนาบดีหรือข้าราชการช ั้นสูง และ
ส่วนที่ ๔ ว่าด้วยเหตุการณ์ป ลายส มัยอยุธยา
จึงขอสรุปสาระสำคัญบางประการของเนื้อหาในแต่ละส่วน
(ในวงเล็บเป็นข ้อความห รือค ำอ ธิบายประกอบของผ ู้เขียน) ดังนี้
๑. ภมู สิ ัณฐานข องพระนครศรอี ยธุ ยา
เอกสารคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรมระบุว่า ภูมิลำเนา
กรุงเทพมหานครฯ ตั้งอยู่บนเกาะหนองโสนในประเทศสยาม มีแม่น้ำล้อม
รอบ เกาะนั้นมีสัณฐานคล้ายสำเภานาวา พระนครนั้นมีนามปรากฏว่า
กรุงเทพมหานครบวรทวาราวดีศรีอยุธยา มหาดิลกภพนพรัตนราชธานี
บรุ รี มยอ์ ดุ มพ ระราชน เิ วศนม์ หาส ฐา้ น คนท วั่ ไปเรยี กสนั้ ๆ วา่ “กรงุ ศรอี ยธุ ยา”
หรือ “กรุงเทพทวาราวดี” (กรุงเทพทวารวดี) เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธ
ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสร้างกรุงเทพฯ ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๒๗
แล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๒๗ แล้วพระราชทานนาม
พระนครที่สร้างใหม่ว่า “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ ๔
ทรงเปลี่ยนเป็น อมรรัตนโกสินทร์ เพื่อให้สัมผัสกับคำข้างหน้า คือ
มหานคร) มหนิ ทราอ ยธุ ยา มหาดิลกภ พน พ รตั นราชธานีบ ุรรี มย์ อดุ มราช
น ิเวศนม์ หาส ถาน อมรพมิ าน อวตารส ถิต สกั กะทตั ต ยิ วษิ ณุก รรมป ระส ทิ ธิ์”
หรือเรียกสั้นๆ ว่า กรุงเทพมหานคร จะเห็นได้ว่า นามของกรุงเทพมหานคร