Page 22 - คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง
P. 22

(20)

พระจอมเกล้า​เจ้า​อยู่​หัว​เมื่อ​ครั้ง​ทรง​พระ​ผนวช​อยู่​ได้​ปฏิรูป​คณะ​สงฆ์​ไทย​เป็น​
​คณะ​ธรรม​ยุตติ​ก​นิกาย​และ​นิกาย​เดิม​คือ ฝ่าย​อรัญ​วาสี​หรือ​พระ​ป่า (ฝ่าย​
​ธรรมย​ุติ) ส่วน​คณะฝ​ ่าย​ขวาแ​ ละค​ ณะ​ฝ่าย​ซ้าย (พระบ​ ้าน) ก็​คือ​มหา​นิกายใ​น​
ปัจจุบัน​นั่นเอง
๓. วา่ ​ดว้ ย​ตำ​รา​พระ​พิ​ไชย​เสนา

      เรื่อง​พระ​พิ​ไชย​เสนา​เป็น​ตำรา​สำหรับ​เสนาบดี อำมาตย์​ราช​มนตรี
มี ๒๕ ข้อ เป็น​ตำรา​ที่​พระ​มหา​กษัตริย์​พระราชทาน​สั่ง​สอน​เสนาบดี​ใน​
ราชส​ำนัก เพื่อใ​ห้เ​สนาบดีห​ รือข​ ้าราชการป​ ระพฤติป​ ฏิบัติต​ ามต​ ำร​าพ​ ระพ​ ิไ​ชย​
เสนา โดย​ยึด​หลักธ​รรมเนียมร​าชก​ ิจ​ทุก​ประการ​ตาม​ทำนอง​คลอง​ธรรม หมั่น​
รักษาอ​ ุโบสถศ​ ีล (ศีล ๘) และเ​บญจศีล (ศีล ๕ ) เป็น​ประจำ ปฏิบัติ​งานด​ ้วย​
ความเ​พยี รแ​ละเ​อาใจใ​สต​่ อ่ ห​ นา้ ทปี​่ ราศจากท​ จุ รติ แ​ละต​ ัง้ อ​ยู่ใ​นส​จุ รติ ธ​รรม ภกั ด​ี
ตอ่ พ​ ระพทุ ธศ​ าสนาแ​ละส​นองพ​ ระเนตรพ​ ระกรร​ณ ในท​ นี​่ จี​้ ะย​กต​ วั อยา่ งป​ ระกอบ​
เพียง ๕ มาตรา ดังนี้

      “​ข้อ ๑ ผู้​เป็น​เสนาบดี​มี​ปรีชา​สามารถ​ให้​ตั้ง​อยู่​วิริยะ เพียร​ภักดี​
ซื่อตรงต​ ่อพ​ ระบ​ วรพ​ ระพุทธศ​ าสนาแ​ ลพ​ ระม​ หาก​ ษัตริย​าธิร​าชส​มณพ​ ราหมณา​
จาร​ิย์ ประชาราษฎรเ์​ป็นต้น และใ​หค้​ ิดต​ ั้งจ​ิตรท​ ำนบุ​ ำรุงพ​ ระเ​กียรติยศพ​ ระเจ้า​
แผ่นดิน ให้​ถาวรข​ จรฟ​ ุ้งเฟื่อง​ไปโ​ดย​ทิศน​ ุ​ทิศ จงห​ มั่น​ตรวจ​ตรา​ราช​กิจ​สนอง​
พระเนตร​พระกร​รน​ดัง​พระ​ราช​หฤทัย​แห่ง​พระ​มหา​กษัตริย์ ผู้ทรง​พระคุณ​อัน​
ประเสริฐ จง​ลง​ใจ​ใน​ราชการ​โดย​ยุติธรรม​ตาม​แบบ​โบราณ​ราช​ประเพณี​ให้​
รุ่งเรืองส​ ืบไป

      ข้อ ๓ ผู้เ​ป็นเ​ส​วะก​ าม​ าตย์​ราชป​ รินายกพ​ ึง​ให้ค​ ำรพก​ ตัญญูต​ ่อ บรม​
มิตรท​ ั้ง ๑๐ ประการ คือ พระพุทธเจ้า ๑ พระป​ ัจ​เจตโ​พธิ์​เจ้า ๑ พระ​ธรรม​
เจ้า ๑ พระอ​ ริย​สงฆ์ ๑ พระม​ หา​กษัตริย์ ๑ บิดา ๑ มารดา ๑ เชษฐา ๑
ญาติผ​ ู้ใหญ่ ๑ ผู้ม​ ีศ​ ีล ๑ บัณฑิต ๑ เป็น ๑๐ ประการ ควร​เคารพ (ความ​
เป็นจ​ริง​ข้อ ๓ นี้น​ ับไ​ด้ ๑๑ ประการ แต่ส​ ถานภาพท​ ี่​อยู่​ในร​ะดับ​เดียวกัน​ของ​
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27