Page 18 - คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง
P. 18
(16)
ได้อาศัยต้นเค้าจากเอกสารคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรมนี่เอง
เพียงแต่เปลี่ยนนามเป็น กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ฯ โดยเติม
ข้อความให้มีความหมายเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจและความอุดมสมบูรณ์
ของราชธานีเปรียบเสมือนที่ประทับข องพ ระน ารายณ์ ซึ่งจุติจากส วรรค์
เนื้อหาในต อนต ้นว่าด ้วยภ ูมิสัณฐานได้ก ล่าวถ ึงพ ระเจ้าแ ผ่นด ินผ ู้ทรง
ครองกรุงศรีอยุธยาด้วยการใช้ภ าษาท ี่สละส ลวยมีการสัมผัสคำและสัมผัสสระ
อย่างไพเราะคล้องจองเป็นวรรณศิลป์ ดังตัวอย่าง “สมเด็จพระเจ้าแผ่นดิน
สยาม... ทรงรักษาไพร่ฟ ้าข ้าแผ่นดินโดยทางท ศพ ิธราชธรรม ทรงทำนุบำรุง
พระบวรพ ุทธศ าสนา และส มณพราหมณจริยแ ลไพร่ฟ ้าป ระชากร ให้อ ยู่เย็น
เปน็ สขุ ส โมสรห าส งิ่ เสมอเหมอื นม ไิ ด้ พวกพ าน ชิ นาน าป ระเทศ ทราบเหตวุ ่า
กรุงศ รีอ ยุทธยาผาศุขส มบ ูรณ (ผาสุกส มบูรณ์) ด้วยส ินค้าอุดมด ี พวกพาน ิช
ก็แตกตื่นเข้ามาถวายบรรณาการ ขอพระราชทานพึ่งพระบรมโพธิสมภาร
ค้าขายในพระมหานครเปนอันมากจะนับคณะนามิได้ กรุงศรีก็ไพศาล
สมบ ูรณเป็นรตั นราชธานี ศรสี วสั ด พิ ิพัฒน มงคลแ ก่ชนช าวสยามค วามเจริญ
ทั่วพระน คร” (หน้า ๑-๒)
เนื่องจากกรุงศรีอยุธยาเป็นเกาะมีแม่น้ำล้อมรอบทั้ง ๔ ทิศ มี
ท่าเรือจ้าง มีตลาดเรือ (ตลาดน้ำ) รอบกรุง ตลาดบนบกชานพ ระนคร ตลาด
นอกกำแพงพระนครและนอกกรุงศรีอยุธยาบรรยายสภาพความเป็นอยู่และ
ประชาชนก ลุ่มชาติพันธุ์ต ่าง ๆ รวมทั้งต่างช าติที่ต ั้งบ้านเรือนห รือห้างร้านค ู่
กบั วดั ต า่ ง ๆ ไวอ้ ยา่ งละเอยี ดซ ึง่ ไมป่ รากฏในพ ระราชพ งศาวดารกรงุ ศ รอี ยธุ ยา
ฉบับต ่าง ๆ ดังต ัวอย่างข้อความว่า
“... ตลาดท า่ เรือจา้ งวัดน างชนี า่ (หนา้ ) บา้ นโปรต เุกต๑(โปรตุเกส)...
ตลาดหลังตึกห้างวิลันดา(ฮอลันดา) แถววัดหมู ๑ ตลาดวัดสิงหน่า(หน้า)
ตึกญี่ปุ่น ๑ ...ตลาดวัดท่าราบน่าบ้านเจ้าสัวซี (ชาวจีน) มีตึกแถวยาว ๑๖
ห้องสองช ั้น ๆ ล่างต ั้งร้านขายของ ชั้นบนคนอ ยู่ หัวต ลาดนี้มีโรงต ีเหลกแล