Page 94 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 94
แทงหยวก
ชางประสม สุสุทธิ หรือท่ีเรียกกันในหมูลูกศิษยวา “ครูประสม”
ปจจุบันทานมีอายุได ๘๗ ปแลว แมทานจะประสบปญหากับโรคประจำตัวที่
เกิดขึ้นไปตามวัย แตทานก็ยังคงถายทอดวิชาใหกับทายาทในครอบครัวและบรรดา
ลกู ศษิ ยอ ยา งตอ เนอื่ ง ครอบครวั ของครปู ระสมนนั้ ยงั เปน ครอบครวั ทสี่ ามารถสบื สาน
ฝไ มล ายมอื ชา งศลิ ปะสกลุ เพชรบรุ ไี วไ ดอ ยา งเขม แขง็ เพราะครปู ระสมทา นไดป ลกู ฝง
ความรกั ในศลิ ปะอนั เปน สมบตั ขิ องจงั หวดั เพชรบรุ แี กล กู หลานของทา นไวเ ปน อยา งดี
อกี ทงั้ ผคู นภายในทอ งถนิ่ และคนจากนอกพนื้ ทที่ มี่ คี วามสนใจ ตา งมาฝากตวั เปน ศษิ ย
ขอสืบสานงานชางศิลปแ ทงหยวกนไี้ มน อย แตก ย็ ังไมม ากพอทจี่ ะเปนหลักประกันที่
แนนอนวาศิลปะการแทงหยวกจะถูกสืบทอดตออยางมั่นคงตลอดไป
เหตุผล หน่ึง ท่ี มีน้ำหนักมากพอท่ีจะยับย้ังไมใหการแทงหยวกน้ัน
เจริญไดเทาท่ีควร น่ัน คือคาใชจายในการสรางเมรุลอยท่ีสูงมาก ซ่ึงไมใช
ทุก ครอบครัวท่ีมี ฐานะทางการเงินม่งั ค่งั พอท่ีจะวาจางใครมาสรางเมรุ
สวน ตัว ที่ วิจิตร งดงามใหไดเสมอไป คนในปจจุบันจึงนิยมใชเมรุ
เผาศพของวัดซึ่ง มีคาใชจายนอยกวาและสะดวกกวาในการ
ค ว บ คุ ม ดู แ ล พิธี จึงกลายเปนเสื่อมความนิยมในการ
ใช งานแทง หยวกใน พิธี ฌาปนกิจ ศพ และ พิธี อื่นๆ
ซึ่ ง ท ำ ใ ห ความ ตองการ ใช งาน แทง หยวก นั้น มี ไม
บอยนัก ผลที่ตามมาคือผูมีความสามารถ
ไม สามารถ ยึ ด การ แทง
หยวกเปนอาชีพหลักหา
ราย ได มา เลี้ยง ตน และ
ครอบครัวไดอยางมั่นคง
และ เปน ข อ จำกัด ที่ ปด
กั้นไมใหคนรุนใหมสนใจ
ในศิลปะการแทงหยวก
อยา งจรงิ จงั ครอบครวั
๘๖