Page 95 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 95
ชลากร สถิวสั ส
ของครูประสมเองก็ประสบปญหานี้ ปจจุบันรายไดหลักของครอบครัวสุสุทธิ
มาจากการจำหนายและบริการจัดดอกไมในงานศพ สวนรายไดจากการรับจาง
แทงหยวกเปน เพยี งรายไดเ สรมิ ทน่ี านๆ จะมโี อกาสสกั ครง้ั
แตกระนั้น แสงสวางของศิลปะการแทงหยวกนั้นก็ยังคงมีอยู เมื่อการเปด
ตวั ของงานแทงหยวกในพระราชพิธที ยี่ ่ิงใหญท ง้ั สองครง้ั นน้ั ไดก ระตนุ ความสนใจของ
องคกรหลายภาคสวนใหมาศึกษาวัฒนศิลปชนิดนี้อยางลึกซึ้ง เชนที่มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนสุนันทา ไดจัดตั้ง “ชมรมแทงหยวก” ขึ้น ซึ่งเปนโอกาสอันดียิ่งที่บรรดา
นกั ศกึ ษาทมี่ คี วามสนใจในศลิ ปะแขนงนเี้ หมอื นกัน ไดม จี ดุ รวมตัวและลงพื้นทจี่ รงิ ไป
ศึกษาและทดลองทำจากผูรูถึงชุมชนที่เปนแหลงเรียนรูของวัฒนธรรมการแทงหยวก
นับเปนการเริ่มตนอันทรงคุณคาและจะมสี วนอยางยิ่งในการเบิกเสนทางอนาคตของ
วฒั นธรรมการแทงหยวก สจู ติ สำนกึ อนรุ กั ษภ มู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ของเยาวชนและคนรนุ
ใหมอยางไมมีที่สิ้นสุด
อยางไรก็ตาม ไมใชแตเพียงวัฒนธรรม ประเพณี หรือภูมิปญญาเทานั้น
แตรวมถึงทุกอยางที่บรรพบุรุษของเราไดกลั่นกรองและเจียระไนมาแลวหลายตอ
หลายรุนจนกลายเปนยอดเพชรน้ำหนึ่ง กำลังอยูในภาวะเสี่ยงตอการสูญหายไป
กับกาลเวลาและกระแสสงั คมสมยั ใหม จะโชคดีไดมีโอกาสสำคญั ท่จี ะเปน จดุ เปลย่ี น
พลกิ ผนั ใหสังคมตื่นตัวที่จะอนุรักษและรักษาวัฒนธรรมนั้นใหคงอยูตอไปเหมือนกับ
ศิลปะการแทงหยวก ประเทศของเราอันเปนดินแดนที่อุดมไปดวยวัฒนธรรมและ
ภูมิปญญายังคงมีสมบัติล้ำคาอีกมากมายที่ถูกสังคมสมัยใหมมองขามไป ซ้ำมัน
ยังตองสูญเสียบทบาททางสังคมไปจากการเขามาแทนท่ีของวิทยาการความเจริญ
กา วหนา และอทิ ธพิ ลวฒั นธรรมตา งชาติ ไมไ ดเ ปน ทรี่ จู กั ของคนสว นใหญ และผทู รี่ ถู งึ
การมตี วั ตนอยขู องมนั กล็ ม ตาย ลดนอ ยลงไปตามกาลเวลา วฒั นธรรมและภมู ปิ ญ ญา
ของไทยเรากลายเปนสมบัตทิ ีเ่ มื่อปลอยทิ้งไวโ ดยไมมกี ารรักษากร็ ังแตจ ะเสื่อมสลาย
และจะหายไปในที่สุด เราในฐานะผูสืบทอดแผนดินไทยนี้จะเพิกเฉยและปลอยใหมี
การสูญเสียรากเหงาของเราเองโดยที่พวกเราไมรูตัวอยางนี้ตอไปเชนนั้นหรือ?
๘๗