Page 92 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 92

แทงหยวก

       ประกอบหยวก
       หลังจากแทงหยวกและลงสีครบทุกชิ้นสวนแลวก็เปนขั้นตอนของการ
ประกอบหยวกรวมกัน โดยเริ่มจากยึดชิ้นที่แกะลายเปนขอบ (หยวกสีขาว) และชิ้นที่
เปนแกน (หยวกสีเขียว) เขาดวยกันดวยตอกไมไผใหแนน (หรือจะใชกานใบลานก็ได)
จากนั้นก็ประกอบเขากับสิ่งที่ตองการประดับ เชน เชิงตะกอน ประรำพิธี แทนพิธีกร
เปน ตน ประดบั ดว ยผกั ผลไมแ กะสลกั ตามควร โดยมากนยิ มแกะสลกั เปน รปู ดอกไม
ประดบั บนเชงิ ตะกอนหรอื สงิ่ ของทวั่ ไป และแกะเปน รปู สตั วส วรรคใ นวรรณคดปี ระดบั
บนงานแทงหยวกรูปจำลองของเขาพระสุเมรุ
       ทุกขั้นตอนของการแทงหยวกนั้นลวนตองใชความประณีต ความสามารถ
และความเชยี่ วชาญ ประกอบกบั ความรเู รอื่ งลวดลายและการประกอบการแทงหยวก
ตางๆ ทีส่ ืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ผทู ีช่ ำนาญดานการแทงหยวกหลายทานสามารถ
แกะเปนลายทีม่ รี ายละเอียดและตองการความตรงของลายเสนมากโดยทไี่ มต องราง
ลวดลายไวก อ น ความรวดเรว็ ในการแทงหยวกจะชว ยใหห ยวกมอี ายกุ ารใชง านนานขน้ึ
       สวนลายของการแทงหยวกนั้นมีทั้งลายไทยมาตรฐานที่ใชเปนหลักในการ
แทงหยวกเสมอ ไดแก ลายฟนหนึ่ง ลายฟนสาม ลายฟนหา ลายนองสิงห ลายหนา
กระดาน ลายเสา และลายบวั กระจงั และมลี ายไทยประยกุ ต คอื นำลายไทยลายอนื่ ๆ
มาประยุกตแ กะไดต ามความคิดออกแบบของชางแทงหยวก หรือแกะเปนลายตามที่
ชางแทงหยวกจินตนาการได

อนาคตของการแทงหยวกจะเปนš อยา‹ งไร?

       ปจจุบันนี้เรียกไดวาเปนชวงหัวเลี้ยวหัวตอของวัฒนธรรมการแทงหยวก มี
โอกาสสูงมากที่ศิลปะชนิดนี้จะตองสูญหายไป เพราะชางผูชำนาญการแทงหยวก
ตางก็แกชรามากหรือเสียชีวิตไปแลวไมนอย อีกทั้งการสืบสานงานฝมือนี้นับวายัง
เปนวงแคบ มีเพียงไมกี่ชุมชนเทานั้นที่มีผูมีความรูดานการแทงหยวก และภายใน
ชุมชนนั้นอาจมีเพียง ๑ – ๒ ครอบครัวเทานั้นที่ยังมีฝมือทางดานนี้ โดยมากการ
ถายทอดวิชาความรูนี้เปนเพียงการสอนกันภายในครอบครัวเทานั้น นอยนักที่จะมี
บคุ คลภายนอกทมี่ คี วามตงั้ ใจจรงิ มาขอเรยี นรแู ละสบื ทอดการแทงหยวก ดว ยสภาพ

                      ๘๔
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97