Page 87 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 87

ชลากร สถิวัสส

            ในสมัยกอน เมื่อมีคนตายก็จะมีพิธีฌาปนกิจ

   ศพกลางแจงท่ีลานวดั หรือปาชา มีภมู ิปญญาเก่ยี วกบั

   การเผาศพวาใหใชหยวกกลวยนำมารองศพและวาง

   ตามจิตกาธานและเชิงตะกอน เพราะหยวกกลวย

“สามารถเปนฉนวนกันไฟและรองซับน้ำเหลืองจากศพ
   ได ตอมาจึงไดมีการพัฒนา สลักและฉลุลายไทยอัน

                                วิจิตร ง ด ง า ม ล ง บ น ห ย ว ก ก ล ว ย

                                ตานีใหเปนของประดับตกแตงใน

...มีความเช่อื ว‹าวญิ ญาณ       พิธีฌาปนกิจดวย จนกลายเปน
                                “การแทงหยวก หรือการตอก
ของผŒูที่ตายจะขึน้ สเ‹ู ขาพระสุเมรุ หยวก” ซึ่งเปนศิลปะขั้นสงู จนถึง
                                ทุกวันนี้
อนั เปšนศนู ยร วมของวิญญาณ            นอกจากงานฌาปนกิจ
 ในภพภมู ิท้ังหลายในโลก
                                ศพ การแทงหยวกกใ็ ชใ นพธิ มี งคล

จึงมกี ารจำลองเขาพระสุเมรุ เชนกัน เชน ในพิธีโกนจุกมีการ
“                               จำลองเขาพระสุเมรตุ ามความเชื่อ
(คำวา‹ เมรุ ของเมรุเผาศพ มาจาก  ซึ่งมีผักผลไมแกะสลักเปนรูปสัตว
     เขาพระสุเมรนุ นั่ เอง)     สวรรคในวรรณคดีประดับ และ

                                มีงานแทงหยวกหุมโครงโดยรอบ

                                อยางไรก็ตาม การแทงหยวกนั้น

   ไมนิยมใชในงานมงคลเทาไรนัก อีกทั้งยังเปนลวดลาย

   ที่ไมมีลายละเอียดและประณีตเทางานแทงหยวกในพิธี

   อวมงคล ผูคนสวนมากจึงรูจักการแทงหยวกในฐานะ

   ศิลปกรรมในงานฌาปนกิจศพหรืองานอวมงคลเสีย

   มากกวา

            ๗๙
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92