Page 88 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 88

แทงหยวก

ทำไมตอŒ งกลŒวยตานี?

       กลว ยตานเี ปน พนั ธทุ เี่ หมาะแกก ารแทงหยวกมากกวา กลว ยพนั ธอุ นื่ ๆ เพราะ
มคี ณุ สมบตั พิ เิ ศษเฉพาะตวั ไดแ ก กลว ยตานไี มม เี สน ใยเมอ่ื ถกู ตดั หยวกของกลว ย
ตานีนั้นฉ่ำน้ำกวากลวยพันธุอื่นๆ จึงสามารถคงความสดไดแมถูกลอกกาบออกเปน
เวลากวา ๒๔ ชวั่ โมง (ขณะทกี่ ลว ยพนั ธอุ นื่ จะเรมิ่ เหยี่ วและดำลงภายในเวลาประมาณ
๑๐ ชั่วโมง) อีกทั้งใชลอมกองฟนดานลางโลงศพเปนฉนวนกันเพลิงลุกลามไดดีเมื่อ
เผาศพ เมื่อหยวกถูกฉลุลายแลวจะไมเปนรอยดำเหมือนกลวยพันธุอื่นและมียาง
นอย เปนเหตุใหงานแทงหยวกของกลวยตานีนั้นสวยกวาหยวกของกลวยพันธุอื่น
แตปจจุบันกลวยตานีเริ่มหาไดนอยลงจึงไดนำหยวกของกลวยน้ำวามาใชแทน

       การเลอื กกลว ยตานมี าแทงหยวกนนั้ จะตอ งคดั สรรดว ยความพถิ พี ถิ นั กลว ย
ทใี่ ชต อ งเปน กลว ยสาวยงั ไมต กเครอื เนอ่ื งจากหากใชต น ทตี่ กเครอื แลว หยวกของตน
นั้นจะเปราะและแทงลายไดยากกวา ลำตนมีความสงู ตั้งแต ๓ เมตรขึ้นไป และมี
เสนผานศนู ยกลางของโคนประมาณ ๒๐ เซนติเมตรจึงจะเหมาะกับการแกะลายได
ดี หากจะใชกลวยน้ำวาแทนก็ตองคัดเลือกตนที่มีคุณสมบัติเดียวกัน

    การแทงหยวกมคี วามสัมพันธกบั ประเพณีความเชอื่ อย‹างไรบาŒ ง?

               ตามหลักของพระพุทธศาสนา มีความเชื่อวาวิญญาณของผูที่
       ตายจะขึ้นสูเขาพระสุเมรุอันเปนศูนยรวมของวิญญาณในภพภูมิทั้งหลาย

         ในโลก จึงมีการจำลองเขาพระสุเมรุ (คำวา เมรุ ของเมรุเผาศพ มาจาก
           เขาพระสุเมรุนั่นเอง) มาจัดในงานฌาปนกิจศพ ซึ่งประดับดวยงาน
             แทงหยวกนั่นเอง ขณะเดียวกัน ในขั้นตอนของการแทงหยวกนั้น
               ยังแสดงถึงประเพณีแสดงความเคารพตอครูอาจารยผูประสิทธิ์
                  ประสาทวิชาศิลปะแขนงนี้ให จึงตองมีการไหวครูกอนที่จะ
                   ลงมอื แทงหยวก ซงึ่ ของทไี่ หวค รนู นั้ ประกอบดว ยธปู ๓ ดอก
                    เทียนขี้ผึ้ง ๑ เลม ดอกไม ๓ สี สุรา ๑ ขวด ผาขาวมา
                       ๑ ผืน และเงินคาครูจำนวน ๑๔๒ บาท นอกจาก

                      ๘๐
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93