Page 86 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 86

แทงหยวก

ที่ความเจริญทางวิทยาการสามารถอำนวยความสะดวกแกชีวิตมนุษยไดอยางมี
ประสิทธิภาพกวา และเขาถึงชีวิตจิตใจของคนมากกวา อีกทั้งยังเปนสิ่งดึงดูดใจให
คนรุนใหมละความสนใจในวัฒนธรรมและหันไปหาความเจริญทางวัตถุแทน ดังนั้น
วัฒนธรรมที่สืบทอดกันมานานแสนนานจึงเสื่อมถอยไปจากชีวิตของคนสมัยใหม
เมื่อไมมีผูใดเล็งเห็นความสำคัญ ยอมไมมีผูที่คิดจะสืบสานตอ อันเปนจุดเริ่มตน
ไปสูความเสื่อมสลายของวัฒนธรรมในที่สุด

       ประเทศไทยเราเปน ทกี่ ลา วขานอยา งแพรห ลายวา เปน ประเทศทมี่ วี ฒั นธรรม
เจริญรุงเรืองในทุกๆ แขนง ในทุกๆ วันของสังคมลวนมีสิ่งนี้แฝงอยูตลอดเวลา แต
คำวาวัฒนธรรมนั้นไมไดจำกัดอยูเพียงภาษา หรือคานิยมตางๆ เทานั้น แตยัง
รวมถึงภูมิปญญาตางๆ มากมายที่บางครั้งอาจไมไดมีบทบาทในชีวิตประจำวันของ
พวกเราบอยนัก เปนเหตุใหวัฒนธรรมเหลานั้นไมไดเปนที่รูจักอยางแพรหลาย และ
กลายเปนขอจำกัดที่ทำใหมผี ูสนใจสืบสานตอนอยลงไปทุกที

       คำทเ่ี ราไดย นิ อยา งหนาหเู กย่ี วกบั ภมู ปิ ญ ญาคอื คำวา “ภมู ปิ ญ ญาชาวบา น”
มีความหมายวา “ความรูความสามารถของชาวบานที่เรียนรูจากบรรพบุรุษหรือผูรู
ในทองถิ่นที่ใชประโยชนอยางแพรหลายภายในชุมชน หรืออาจครอบคลุมถึงระดับ
ประเทศ” เมื่อนำคำนี้มากลาวในแงของวัฒนธรรมแลว มันจึงไมใชเพียงการคิดคน
หรือประดิษฐสิ่งของตางๆ เพียงเพื่อผอนแรงกายของผูใช แตมันยังแฝงดวยความ
เชื่อ ความกลมเกลียวกับธรรมชาติ และคุณประโยชนตางๆ ที่ละเอียดและลึกซึ้ง
จนเราอดทึ่งไมไดเมื่อไดเรียนรูที่มาที่ไปของภมู ิปญญาเหลานั้น

       ผเู ขียนจึงขอเลือกทีจ่ ะเขียนเรื่อง “การแทงหยวก” ซึ่งเคยไดยินครั้งแรกเมื่อ
ครั้งที่ยังศึกษาในระดับประถมศึกษา จนกระทั่งมาไดยินอีกครั้งเมื่อมีการแทงหยวก
ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระศพสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยานิวัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร (เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๑) ผูเขียนไดเกิด
ความสนใจขึ้นมาอีกครั้งและลองคนควาหาขอมลู ของการแทงหยวก จึงไดรูวาเปน
ศิลปะที่มีทั้งความเชื่อ ความประณีตและใหคุณประโยชนดานการใชงาน นับเปน
ตัวแทนของภมู ิปญญาที่สมบูรณแบบที่สุดในใจของผูเขียนเลยทีเดียว

                      ๗๘
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91