Page 89 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 89

ชลากร สถิวัสส

นีก้ อนทจี่ ะตัดตนกลวยตานมี าแทงหยวกนั้นจะตองขอขมาดวงวิญญาณทสี่ ิงสถิตใน
ตนกลวยเหลานั้นเสียกอนดวย

       แมงานแทงหยวกนั้นจะเปนงานที่ตองอาศัยความละเอียดบรรจงของผูทำ
แตผูแทงหยวกโดยมากนั้นจะไมย อทอตอความยากของงาน เพราะตางก็ทำดวยจิต
อนั เปน กศุ ล เนอ่ื งจากพิธที ใี่ ชง านแทงหยวกสว นใหญท เี่ กย่ี วขอ งกบั วดั และศาสนพิธี
การแทงหยวกเพื่อใชในพิธีทางศาสนาก็เปนเหมือนการบำเพ็ญบุญกุศลอีกทางหนึ่ง

อุปกรณของการแทงหยวก

       ๑. หยวกกลวยตานี คือลำตนชั้นในของตนกลวยหลังลอกกาบชั้นนอกออก
นยิ มใชช นั้ ทเี่ ปน สขี าวเนอื่ งจากคงความสดไดน านกวา และเปลยี่ นสชี า กวา สเี ขยี วออ น
หรอื เขยี วแกก ส็ ามารถใชไ ดเ ชน กนั ขนึ้ อยกู บั ผแู ทงหยวกวา ตอ งการจะเลน ระดบั สขี อง
หยวกอยางไร อยางไรก็ตาม หากยิ่งเปนกาบชั้นนอกก็จะเหี่ยวเฉาเร็วกวาและสวย
นอยกวา เนื่องจากไมมีความชื้นในตัวกาบมากเทากาบชั้นใน

       ๒. ผกั ผลไมเ นอ้ื แขง็ สำหรบั ใชแ กะสลกั เพอ่ื ตกแตง เชงิ ตะกอน และประดบั
งานแทงหยวก เชน ฟกทอง แตงดิบ มะละกอดิบ มัน เปนตน

       ๓. สสี ำหรบั ยอ มหยวก เดมิ นิยมใชส ผี สมอาหารทไี่ ดจ ากพืชใหส ตี า งๆ เชน
กระเจี๊ยบ ขมิ้น เปนตน ปจจุบันหันมาใชสียอมผายอมหยวกแทนเนื่องจากคงทน
กวา แตก ารใชส เี คมยี อมหยวกนั้นจะทำใหห ยวกเหี่ยวเรว็ กวาเดมิ เนื่องจากสารเคมี
จะไปทำลายรองน้ำในหยวกซึ่งเปนแหลงรักษาความชุมชื้นของหยวกกลวย

       ๔. กระดาษสี หรอื กระดาษองั กฤษ กระดาษองั กฤษคอื กระดาษหอ ของขวญั
เคลือบตะกั่วเปนเงาสะทอน ใชสำหรับสอดในกาบกลวยใหลายที่แกะนั้นเปนสีตาม
กระดาษที่ใช

       ๕. มดี สองคม หรอื มดี แทงหยวก เปน มดี ปลายแหลมและเรยี วเลก็ มดี า นคม
ทั้งสองดาน กวางประมาณ ๕ มิลลิเมตร และยาวประมาณ ๑๐ – ๑๕ เซนติเมตร
หรือใชขนาดตามความสะดวกของผูแทงหยวกและลายที่แทง มีดแทงหยวกจะตอง
คมพอทีจ่ ะตัดหยวกและแกะลายไดภายในครั้งเดียวที่แทงลงไป เพราะหากมีดไมคม

                      ๘๑
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94